แบบประเมิน LPA (Local Performance Assessment)
องค์การบริหารส่วนตำบลดอนเปา
- ด้านที่ 1 การบริหารจัดการ
- หมวดที่ 1 การวางแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี
- 1.1 ความสามารถในการจัดทำาแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปีตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด
- 1. หนังสือที่เสนอนายอำเภอ/ผวจ. กรณีมีการขยายเวลาการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี
- 2) ประกาศของ อปท. เรื่องการประกาศใช้แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (2561-2564)
- 1.2 การจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 – 2564
- 1) คำสั่งหรือประกาศผู้รับผิดชอบจัดทำประชาคมท้องถิ่น
- 2) ประกาศสัดส่วนประชาคมท้องถิ่น เพื่อจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นที่เป็นปัจจุบัน
- 3) รายงานการประชุมคณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น และคณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น
- 4) บัญชีโครงการพัฒนา (แบบ ผ.01 ผ.02 ผ.03 ผ.04 ผ.05 ผ.06 ผ.07 และ ผ.08 แล้วแต่กรณี)
- 1.3 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้ส่งเสริม การมีส่วนร่วมของประชาชนในการวางแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี
- 1) สำเนาหนังสือเชิญประชุมหรือเอกสารการประชาสัมพันธ์ฯ ที่มีการเผยแพร่อย่างหลากหลายและทั่วถึง
- 2) สำเนารายงานการประชุมประชาคมท้องถิ่น ในระดับชุมชน/หมู่บ้าน/อำเภอ ในการรับทราบปัญหาความต้องการของประชาชนหรือสำเนารายงานการประชุมในการส่งเสริมกระบวนการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี
- 3) สำเนารายงานการประชุมประชาคมท้องถิ่น ในระดับตำบล/ชุมชนตำบล/ชุมชนเมือง/ชุมชนนคร/จังหวัด หรือท้องถิ่น หรือการประชุมคณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่นหรือคณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี ที่มีการนำปัญหาความต้องการ/ข้อเสนอแนะจากการประชุมประชาคมท้องถิ่น
- 26 การพัฒนาองค์ความรู้ (Knowledge Management)
- 1) สำรวจข้อมูล สภาพปัญหา และความต้องการของบุคลากร
- 2) การวิเคราะห์สภาพปัญหาความต้องการของบุคลากร
- 3) การจัดอบรม/ ฝึกอบรมพัฒนาบุคลากร
- 4) มีการฝึกอบรม พัฒนาบุคลากร
- 31.การประเมินผลการปฏิบัติงานข้าราชการหรือพนักงานครูและบุคลากรทางการศึกษาส่วนท้องถิ่น
- 1.4 ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดกับยุทธศาสตร์การพัฒนาของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- 1) เอกสารประกอบแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างแผนพัฒนาระดับมหภาค ได้แก่ ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดกับยุทธศาสตร์การพัฒนา ของอปท. (แบบ ยท. 01) แผนผังยุทธศาสตร์ (Strategic map) (แบบ ยท. 02) รายละเอียดยุทธศาสตร์ (แบบ ยท. 03)
- 2) เอกสารประกอบแสดงให้เห็นถึงยุทธศาสตร์ของ อปท. ประกอบด้วย วิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย กลยุทธ์ จุดยืนทางยุทธศาสตร์
- 6.1.4 มีการทักท้วงด้านการเบิกจ่ายเงิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 จากหน่วยงาน ที่มีหน้าที่ตรวจสอบ
- 1.5 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นำโครงการพัฒนาในแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) มาดำเนินการตามแผนฯ โดยใช้เงินงบประมาณรายจ่ายประจำปี/เพิ่มเติม หรือเงินนอกงบประมาณ(เฉพาะโครงการที่กำหนดไว้ในแผนพัฒนาฯ ปี 2561)
- 1) เอกสาร/หลักฐานที่แสดงว่า อปท. ได้รับงบประมาณจากภาครัฐ หรือ อื่น ๆ
- 2) เอกสาร/หลักฐานที่แสดงให้เห็นถึงโครงการพัฒนาที่ได้ดำเนินการจริงที่ใช้เงินงบประมาณรายจ่ายประจำปีหรือเงินนอกงบประมาณ
- 1.6 การจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงท้องถิ่น (ด้านการเกษตรและแหล่งน้ำ) (Local Sufficiency Economy Plan : LSEP)
- 1) มีการจัดทำแผน LSEP ในส่วนที่ 1 สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน ของแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564)
- 2) แบบสำรวจ/ฐานข้อมูล
- 3) หนังสือประสานหรือขอความร่วมมือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
- 4) เอกสาร/หลักฐานที่แสดงให้เห็นถึงโครงการพัฒนา ที่ได้ดำเนินการจริง
- 5) ดำเนินการตามหนังสือ สถ. ด่วนที่สุด ที่ มท 0810.3/ว 2172 ลว. 19 ต.ค. 2559 เรื่อง การสำรวจข้อมูลเพื่อจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงท้องถิ่น (ด้านการเกษตรและแหล่งน้ำ) (Local Suffciciency Economy Plan : LSEP) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
- 1.7 แนวทางการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น
- 1) สำเนารายงานการประชุมคณะกรรมการติดตามฯ หนังสือวาระการประชุมแจ้งคณะกรรมการฯ
- 2) สำเนารายงานการประชุมที่แสดงให้เห็นถึงการกำหนดแนวทาง วิธีการในการติดตาม และประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น ประกอบด้วย กรอบและแนวทางในการติดตามและประเมินผล/ระเบียบ วิธีในการติดตาม และประเมินผล/กำหนดเครื่องมือที่ใช้ในการติดตามและประเมินผล
- 3) สำเนารายงานการประชุมที่แสดงกระบวนการหรือขั้นตอนการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น
- 4) สำเนารายงานผลและเสนอความเห็น ซึ่งได้จากการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่นต่อผู้บริหารท้องถิ่น
- 5) หนังสือที่แสดงให้เห็นถึงผู้บริหารท้องถิ่นรายงานผลและเสนอความเห็นซึ่งได้จากการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่นเสนอต่อสภาท้องถิ่น
- 6) สำเนารายงานการประชุมสภาท้องถิ่นและเสนอความเห็นซึ่งได้จากการประชุมสภาท้องถิ่น ในการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น
- 7) สำเนารายงานการประชุมคณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น และเสนอความเห็นซึ่งได้จากการประชุมคณะกรรมการฯ ในการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น
- 8) สำเนาประกาศผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่นให้ประชาชนในท้องถิ่นทราบ ในที่เปิดเผย
- 1.8 การติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่นในระบบ e-plan
- 1) หลักฐานการบันทึกผลการติดตามในระบบ e-plan
- 2) รายงานการประชุมคณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น
- 3) รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น
- 4) รายงานการประชุมสภาท้องถิ่นและคณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น
- 5) การประกาศผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น
- หมวดที่ 2 การจัดทำฐานข้อมูลที่สำคัญ
- การบันทึกระบบข้อมูลกลา
- การบันทึกระบบข้อมูลกลางองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(INFO)
- 2.1 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น บันทึกข้อมูลตามฐานข้อมูลที่สำคัญตามกรอบระยะเวลา
- 1) มีการบันทึกข้อมูลตามฐานข้อมูลผ่านระบบสารสนเทศของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบันอย่างต่อเนื่อง ทุกระบบ ตามแนวทางที่กรมส่งเสริม การปกครองท้องถิ่นกำหนด
- 2) การบริหารจัดการขยะมูลฝอยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (มฝ. 1 , มฝ. 2)
- 3) ระบบข้อมูลกลางองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (info)
- 4) ให้ใช้ข้อมูล ณ วันที่คณะกรรมการเข้าตรวจ
- หมวดที่ 3 การจัดการข้อร้องเรียน
- 3.1 ร้อยละของข้อร้องเรียนต่อ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่ดำเนินการสำเร็จลุล่วง
- 1) มีการมอบหมายหน่วยงาน/เจ้าหน้าที่รับผิดชอบของหน่วยงาน
- 2) คำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบ
- 2) พ.ร.ฎ.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546
- 3) ทะเบียนรับเรื่องร้องเรียน
- 4) หลักฐานการรายงานผลให้ทราบ ภายใน 15 วัน
- 3.2 ร้อยละของข้อร้องเรียนที่มาจากศูนย์ดำรงธรรม ที่ดำเนินการสำเร็จลุล่วง
- 1) การดำเนินการจัดการข้อร้องเรียนสำเร็จลุล่วง หมายถึง มีการจัดทำบัญชีรับเรื่องราวร้องทุกข์ ร้องเรียนฯ และดำเนินการแก้ไขปัญหา หรือแจ้งผลความคืบหน้าให้ประชาชนทราบภายใน 15 วัน
- 3) ข้อมูลศูนย์ดำรงธรรมอำเภอ หรือจังหวัด
- หมวดที่ 4 การบริการของประชาชน
- 4.1 การอำนวยความสะดวกในการบริการประชาชน
- 1) แบบคำร้อง คำสั่งให้เจ้าหน้าที่บริการล่วงเวลา/พักเที่ยง หรือวันหยุดราชการ หลักฐานการใช้บริการในช่วงเวลาดังกล่าว
- 2) การจัดสถานที่ หรือสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้พิการหรือคนชรา
- 3) ตรวจสอบสัญญาณ wifi ของ อปท. การจัดมุมอินเตอร์เน็ต
- 4) เอกสารประเมินความพึงพอใจ ฯลฯ
- 4.2 ช่องทางการสื่อสารที่หลากหลายเพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนที่จะติดต่อสอบถามหรือขอข้อมูล หรือแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติงานของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- 1) การจัดตั้งศูนย์บริการร่วม
- 2) กล่อง/ตู้รับฟังความคิดเห็น อย่างน้อย 3 จุด ในพื้นที่ของ อปท. ที่ไม่ซ้ำกับจุดที่ตั้ง (ชุมชน/หมู่บ้าน)
- 3) ตู้ปณ.ของ อปท.
- 4) การประชุมรับฟังความคิดเห็น
- 5) การสัมภาษณ์รายบุคคล
- 6) การให้บริการช่องทาง อื่น ๆ เช่น เว็บไซต์
- 7) เฟสบุ๊ค ไลน์
- 8) โทรศัพท์
- 9) โทรศัพท์สายด่วน เป็นต้น
- 4.3. การประเมินความพึงพอใจของประชาชน ณ จุดบริการ
- 1) หลักฐานแบบประเมินความพึงพอใจ
- 2) รายงานผลการประเมินความพึงพอใจ
- 3) การประเมิน ณ จุดบริการ
- หมวดที่ 5 ระบบควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน
- 5.1 การประเมินผลการจัดวางระบบการควบคุมภายในระดับส่วนงานย่อย (สำนัก/กอง) แบบ ปค.4 และแบบ ปค.5
- 1) หลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการควบคุมภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2561
- 2) หัวหน้าส่วนงานย่อย หมายถึง ผู้อำนวยการ สำนัก/กอง
- 5.2 การประเมินผลการจัดวางระบบการควบคุมภายใน ระดับหน่วยรับตรวจตามแบบปค.1 แบบ ปค.4 แบบ ปค.5 และแบบ ปค.6 (กรณีที่มีผู้ตรวจสอบภายในหรือมอบหมายให้ผู้ปฏิบัติหน้าที่ผู้ตรวจภายใน)
- ๑) แบบรายงานระดับหน่วยรับตรวจตามแบบ ปค.1 แบบ ปค.4 แบบ ปค.5 และแบบ ปค.6
- ๒) หนังสือนำส่งรายงานให้ผู้กำกับดูแล (ผวจ. กรณี อบจ./ทน./ทม. และ นอภ. กรณี ทต./อบต.)
- 3) หลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการควบคุมภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2561
- 5.3 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีเจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายในหรือมอบหมายให้มีผู้ปฏิบัติหน้าที่ผู้ตรวจสอบภายในและปฏิบัติหน้าที่ครบถ้วนตามแผนการตรวจสอบที่กำหนด
- 1) คำสั่งมอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบ
- 2) แผนการตรวจสอบภายในประจำปี
- 3) รายงานผลการตรวจสอบตามแผนการตรวจสอบ
- 4) ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการตรวจสอบภายในขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2545
- 5) ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ตรวจสอบภายในพ.ศ.2546
- หมวดที่ 6 การประเมินผลการปฏิบัติงาน
- 6.1 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินการจัดทำข้อตกลงในการปฏิบัติราชการระหว่างส่วนราชการกับผู้บริหารท้องถิ่น
- 6.2 มีการวิเคราะห์และสรุปผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และเข้าที่ประชุมคณะกรรมการประเมินผลตามหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งมีบุคคลภายนอกร่วมเป็นกรรมการ
- คำสั่ง/ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินผลฯ ที่มีผู้แทนชุมชน องค์กร ภาคประชาชน ภาคเอกชน จำนวน 2 คน ร่วมเป็นกรรมการ (หนังสือ มท. ที่ มท 0892.4/ว 435 ลว. 11 ก.พ.
- 2) รายงานการประชุม
- 3) รายงานผลการประเมินผลและเสนอแนวทางการแก้ไขและพัฒนาการปฏิบัติงานให้ครบทั้ง 4 ด้าน เกี่ยวกับ 1) ผลสัมฤทธิ์ของภารกิจ 2) คุณภาพของบริการ 3) ความคุ้มค่าของภารกิจ 4) ความพึงพอใจของประชาชน
- 4) ผู้บริหารพิจารณาผลการประเมินและสั่งการ เสนอแนวทางการแก้ไขและพัฒนาการปฏิบัติงาน
- หมวดย่อยที่ 2 ผลคะแนนการประเมินประสิทธิภาพองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA)
- 6.3 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีผลคะแนน LPA โดยรวมเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา
- 1) ผลคะแนนการประเมินประสิทธิภาพของ อปท. (LPA) ปี 2560 เทียบกับปี 2561
- หมวดที่ 7 การเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารงาน
- 7.1 การมอบอำนาจการตัดสินใจ
- 1) หนังสือหรือคำสั่งมอบอำนาจ พร้อมบัญชีการมอบอำนาจแนบท้าย (ไม่ใช่คำสั่งรักษาราชการแทน)
- 2) การมอบอำนาจต้องเป็นเรื่องที่มีผลโดยตรงต่อประชาชนและเป็นอำนาจของผู้บริหาร อปท.
- 3) สำหรับการมอบอำนาจของผู้บริหาร อปท. ให้ปลัด/ รองปลัด อปท. ต้องจัดทำเป็นคำสั่งและประกาศให้ประชาชนทราบ
- 4) พ.ร.ฎ.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖
- 5) การจองคิวขอรับบริการออนไลน์
- 7.2 มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศหรือโทรคมนาคมเพื่อลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน
- 1) ให้บริการชำระภาษีผ่านอินเทอร์เน็ต
- 2) การจัดให้มีwifi หรืออินเตอร์เน็ตภายในสำนักงาน อปท.
- 3) การใช้โปรแกรมอนุมัติงานก่อสร้าง
- 4) แจ้งผลการอนุมัติผ่านระบบ SMS ฯลฯ
- 6) การแจ้งเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ผ่านระบบออนไลน์ เช่น เว็บไซต์ , ไลน์, เฟสบุ๊ค เป็นต้น
- 7) อื่น ๆ
- 7.3 มีการบริการเชิงรุกเพื่อบริการประชาชน
- 1) มีการจัดตั้งหรือสนับสนุนศูนย์บริการร่วม/ one stop service
- 2) มีการปรับขยายเวลาการให้บริการประชาชนในช่วงพักเที่ยง
- 3) มีการจัดชุดบริการเคลื่อนที่ให้บริการนอกสถานที่ หรือในช่วงนอกเวลาราชการ หรือ ในวันหยุดราชการ
- 4) มีการจัดบริการเชิงรุก เช่น การจัดเก็บภาษีนอกสถานที่ หรือการจัดบริการสาธารณะในอำนาจหน้าที่นอกสถานที่ การจ่ายเบี้ยยังชีพนอกสถานที่ การจัด อปท. เคลื่อนที่ การจัดหน่วยเคลื่อนที่ รับผู้บาดเจ็บกรณีอุบัติเหตุ สาธารณภัย หรือรับผู้ป่วยกรณีฉุกเฉิน ฯลฯ
- 7.4 อปท. มีโครงการชื่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีโครงการซึ่งได้บูรณาการการปฏิบัติงานร่วมกับ อปท.อื่น หรือร่วมกับหน่วยงานอื่น ในรอบปีที่ผ่านมารวมกี่ด้าน (ยกเว้นโครงการที่หน่วยงานของรัฐจัดสรรให้ อปท.ดำเนินการ และโครงการที่ อปท.อุดหนุน ให้ อปท.หรือหน่วยงานฯ
- 1) ด้านโครงสร้างพื้นฐาน
- 2) ด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิต
- 3) ด้านการจัดระเบียบชุมชน/สังคม และการรักษาความสงบเรียบร้อย
- 4) ด้านการวางแผน การส่งเสริมการลงทุน พาณิชยกรรมและการท่องเที่ยว
- 5) รายงานการประชุมประชาคมท้องถิ่น ที่จัดทำ หรือทบทวน หรือเพิ่มเติม หรือเปลี่ยนแปลงแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี
- 5) ด้านการบริหารจัดการและการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม
- 6) ด้านศิลปะ วัฒนธรรม จารีตประเพณีและ ภูมิปัญญาท้องถิ่น
- 7) หลักฐานโครงการการบูรณาการร่วมคิด ร่วมทำ (ปีงบประมาณ 2561)
- หมวดที่ 8 การปรับปรุงภารกิจ
- 8.1 ในระยะเวลา 3 ปีที่ผ่านมา (2559 – 2561) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีการพิจารณาทบทวน ปรับปรุง เปลี่ยนแปลงหรือยกเลิกภารกิจ
- 1) คำสั่ง/ประกาศแต่งตั้งคณะทำงาน
- 2) รายงานการประชุมคณะทำงาน
- 3) บันทึกเสนอผู้บริหารเอกสารแสดงการขับเคลื่อนการดำเนินงานหลังจากการพิจารณาทบทวน ปรับปรุง เปลี่ยนแปลงหรือยกเลิกภารกิจและเสนอผู้บริหารพิจารณา
- 4) การดำเนินการตามหนังสือมท. ที่ มท 0895.4/ว 435 ลว. 11 ก.พ. 2548 ข้อ 3 กรณีมีการดำเนินการทบทวนภารกิจแต่ไม่มีภารกิจ ทบทวน ปรับปรุง เปลี่ยนแปลงหรือยกเลิก ให้ถือว่าเป็นการดำเนินการแล้ว ตามเกณฑ์การให้คะแนน
- 8.2 การดำเนินการทบทวน แก้ไขปรับปรุงหรือยกเลิกข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- 1) คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานฯ
- 2) รายงานการประชุมคณะทำงาน
- 3) รายงานเสนอผู้บริหาร
- 4) ข้อสั่งการของผู้บริหาร
- หมวดที่ 9 การดำเนินงานตามนโยบายของจังหวัด
- 9.1 จำนวนกิจกรรม ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินการในโครงการ (ระบุโครงการหรือกิจกรรมให้ชัดเจน)
- 1) ข้อมูลการประสานหน่วยงานอื่น ที่เกี่ยวข้องเช่น ที่ทำการปกครองอำเภอ/จังหวัด สาธารณสุขอำเภอ/จังหวัด สถานีตำรวจในพื้นที่
- 2) สื่อประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ เช่น ป้าย แผ่นพับ วิทยุชุมชน หอกระจายข่าว เว็บไซต์ ภาพถ่าย วารสาร ใบปลิว จดหมายข่าว
- 3) ภาพถ่ายกิจกรรม
- 4) แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่แสดงถึง การบำบัดฟื้นฟู/ผู้เสพยาเสพติด หรือ การฝึกอบรมฯ
- 5) หนังสือแจ้งเข้าร่วมกิจกรรม
- 6) บัญชีลงลายมือผู้เข้าร่วมกิจกรรม
- 7) กรณีร่วมกับหน่วยงานอื่นให้ดูเอกสาร ที่เกี่ยวข้อง
- ด้านที่ 2 การบริหารงานบุคคลและกิจการสภา
- หมวดที่ 1 ความสอดคล้องเชิงยุทธศาสตร์
- 24. การจัดทำแผนอัตรากำลังสามปี
- 1) ตรวจสอบคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำแผนอัตรากำลัง
- 2) มีการแจ้งเชิญประชุมคณะกรรมการจัดทำแผน
- 3) มีการลงชื่อกรรมการผู้เข้าร่วมประชุม
- 4) รายงานการประชุมคณะกรรมการจัดทำแผน
- 5) ระบุยุทธศาสตร์แผนพัฒนาของ อปท. ในแผนอัตรากำลัง
- 6) การวิเคราะห์ SWOT ศักยภาพขององค์กร
- 7) การวิเคราะห์ยุทธศาสตร์/อำนาจหน้าที่
- 8) หน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละส่วนราชการ
- 9) ประกาศใช้แผนอัตรากำลัง 3 ปี
- 25 การออกคำสั่งด้านการบริหารงานบุคคล
- 1) ประกาศกำหนดส่วนราชการในเว็บไซต์หลัก อบต.
- 2) ประกาศกำหนดส่วนราชการ ระบุมติ ก.อบต.
- 3) คำสั่งมอบหมายหน้าที่ของแต่ละส่วนราชการ
- 4) คำสั่งมอบหมายหน้าที่มีการระบุเลขที่ตำแหน่ง
- 5) คำสั่งมอบหมายหน้าที่ มีการเก็บไว้เป็นระเบียบ
- 6) มีคำสั่งแต่งตั้งผู้ปฏิบัติราชการแทนปลัด และ ผอ.ครบทุกส่วนราชการ
- 7) ผู้รับมอบอำนาจ มีการรายงาน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
- 8) มีคำสั่งแต่งตั้งผู้รักษาราชการแทนครบทุกส่วนราชการ
- 9) คำสั่งแต่งตั้งผู้รักษาราชการแทน เป็นปัจจุบัน
- 10) คำสั่งมอบหมายงานให้แก่ รองปลัด ระบุเลขที่ตำแหน่ง โดยปลัด ลงนาม
- 11) คำสั่งแต่งตั้งผู้รักษาราชการแทนปลัดเป็นไปตามหลักเกณฑ์
- 26. การพัฒนาองค์ความรู้ (Knowledge Management)
- 1) สำรวจข้อมูล สภาพปัญหา และความต้องการของบุคลากร
- 2) การวิเคราะห์สภาพปัญหาความต้องการของบุคลากร
- 3) การจัดอบรม/ ฝึกอบรมพัฒนาบุคลากร
- 4) มีการฝึกอบรม พัฒนาบุคลากร ที่ไม่ใช่เกิดจากผลการวิเคราะห์
- 27 การพัฒนาองค์ความรู้ (Knowledge management) โดยการส่งบุคลากร อปท.เข้ารับการอบรมหรือฝึกอบรม
- 1) ส่งบุคลากรเข้ารับการอบรม เนื้อสอดคล้องกับตำแหน่ง
- 2) สรุปผลการฝึกอบรม
- 3) จัดทำเอกสารเผยแพร่
- 4) นำความรู้ไปประยุกต์ใช้เพื่อปรับปรุง
- 5) นำผลประเมินการปฏิบัติราชการจัดทำโครงการฝึกอบรม
- 28 การพัฒนาองค์ความรู้ (Knowledge Management) บุคลากรทุกสายงานของ อปท ในสายงานเฉลี่ยร้อยละของสายงานที่มีในแผนอัตรากำลัง อปท
- หมวดที่ 2 ประสิทธิภาพของการบริหารทรัพยากรบุคคล
- 29 ระดับความสำเร็จของการประเมินการปฏิบัติงาน และการประเมินเลื่อนขั้นเงินเดือนของข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น
- 1) แบบประเมินผลการปฏิบัติงานและแบบประเมินการเลื่อนขั้นเงินเดือน
- 2) คำสั่งคณะกรรมการกลั่นกรองการประเมิน
- 3) คำสั่งคณะกรรมการพิจารณาเลื่อนขั้น
- 4) รายงานการประชุมคณะกรรมการกลั่นกรอง
- 5) รายงานการประชุมคณะกรรมการพิจารณา
- 6) การคิดคำนวณโควตาและเม็ดเงิน
- 30 การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการหรือพนักงานครูและบุคลากรทางการศึกษาส่วนท้องถิ่น
- 31.การประเมินผลการปฏิบัติงานข้าราชการหรือพนักงานครูและบุคลากรทางการศึกษาส่วนท้องถิ่น
- 1) คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกลั่นกรอง (พนง.ครู)
- 2) แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน พนง.ครู
- 3) การแจ้งผลการประเมิน พนง.ครู
- 32. ระดับความสำเร็จของการบันทึกข้อมูลทะเบียนประวัติอิเล็กทรอนิกส์ของข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น ข้าราชการครูหรือข้อมูลบุคลากรท้องถิ่นแห่งชาติ (LHR)
- หมวดที่ 3 คุณภาพชีวิตและความสมดุลของชีวิตกับการทำงาน
- 33. การทำงานขององค์กรและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใช้หลักการบริหารงานบุคคลท้องถิ่นตามประกาศหลักเกณฑ์และเงื่อนไขเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลบัติงาน
- 1) การกำหนดปัจจัยที่ทำให้มั่นใจว่าสถานที่ทำงานปลอดภัย
- 2) บุคลากรมีส่วนร่วมในการสร้างสภาพแวดล้อม
- 3) ความพึงพอใจและแรงจูงใจในการทำงาน
- 4) การพัฒนาคุณภาพชีวิตบุคลากร
- 5) กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีในองค์กร
- 34.ผู้บริหารท้องถิ่นมีการประเมินความพึงพอใจและแรงจูงใจของบุคลากร
- 1) ความพึงพอใจของบุคลากรต่อผู้บริหาร ด้านบริหารทรัพยากรบุคคล
- 2) ความพึงพอใจของบุคคลากรต่อผู้บริหาร ด้านการจัดสภาพแวดล้อม
- 3) ความพึงพอใจของบุคลากรต่อผู้บริหาร ด้านแรงจูงใจขอบบุคลากร
- 4) ผู้บริหารนำผลประเมินมาปรับปรุงเพื่อสนับสนุนการทำงาน
- 5) ผู้บริหารสร้างแรงจูงใจในการทำงานโดยนำหลักการบริหารบุคคลแนวใหม่
- หมวดที่ 4 การดำเนินกิจการของสภาท้องถิ่น
- 6.1 การดำเนินการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการอำนวยการเกี่ยวกับการดำเนินงานของสภาท้องถิ่น
- 6.1.1 ข้อมูลผู้บริหารท้องถิ่นและสมาชิกสภาท้องถิ่น
- 1) ระบบศูนย์ข้อมูลเลือกตั้งท้องถิ่นโดยตรงที่เว็บไซต์ (http://ele.dla.go.th) ข้อมูล ณ วันที่ตรวจสอบ
- 6.1.2 ในปี พ.ศ. 2561 ผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากผู้บริหารท้องถิ่นได้มาร่วมประชุมสภาสมัยสามัญทุกสมัยและทุกครั้ง (ยกเว้นญัตติที่เกี่ยวข้องกับสภาท้องถิ่นโดยตรง ไม่เกี่ยวข้องกับผู้บริหาร)
- 1) ตรวจสอบจากรายงานการประชุมสภาท้องถิ่น สมัยสามัญ ทุกสมัยและทุกครั้ง
- 6.1.3 การอำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานและมีการจัดเอกสารเกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่สำคัญให้แก่สภาท้องถิ่น
- 1) สอบถามและตรวจสอบเกี่ยวกับสถานที่วัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ และบุคลากรว่ามีความพร้อมที่จะอำนวยความสะดวกแก่การปฏิบัติ ของสภาท้องถิ่นได้อย่างมีประสิทธิภาพหรือไม่ อย่างไร
- 2) ตรวจสอบเอกสารที่จัดไว้และสถานที่ประชุม
- 3) กฎหมาย ระเบียบแก้ไขถึงปีปัจจุบัน
- 6.1.4 การพัฒนาความรู้ให้แก่สมาชิกสภาท้องถิ่น
- 6.2.5 การให้ความเห็นชอบร่างข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี
- 6.2.7 สภาท้องถิ่นได้ดำเนินการเกี่ยวกับการจัดทำรายงานการประชุมสภาท้องถิ่น
- 1) ตรวจสอบรายงานการประชุมสภาท้องถิ่นทุกครั้ง ในปี 2560
- ด้านที่ 3 การบริหารงานการเงินและการคลัง
- หมวดที่ 1 การจัดเก็บรายได้
- หมวดย่อยที่ 2 กรณีประเมินเทศบาล/อบต.
- 1.2.1 มีการออกข้อบัญญัติท้องถิ่นและได้จัดเก็บตาม พ.ร.บ. การสาธารณสุข พ.ศ.2535
- (1) การบริหารการจัดเก็บรายได้
- 1.2.2 การรายงานสถิติการคลังท้องถิ่นประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ภายในระยะเวลาที่กำหนด สิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
- 2) ให้ตรวจสอบจากแผนที่ภาษี (ผ.ท.7) ว่ามีการปรับปรุงข้อมูลตามแบบรายงาน ผ.ท.13 ตามข้อ 1 หรือไม่
- 1.2.3 การประชาสัมพันธ์หลักเกณฑ์และวิธีการจัดเก็บภาษี
- 1. เว็บไซต์
- 2. จดหมายข่าว
- 3. ป้ายประชาสัมพันธ์
- 4. สื่อสิ่งพิมพ์ (แผ่นพับ โปสเตอร์ ฯลฯ)
- 5. หอกระจายข่าว / เสียงตามสาย/ วิทยุชุมชน
- 6. หน่วยประชาสัมพันธ์เคลื่อนที่
- 7. จดหมายแจ้งผู้เสียภาษีโดยตรง
- 8. สื่อสังคมออนไลน์
- 1.2.4 การจัดทำแผนที่แม่บท
- 1) การจัดทำแผนที่แม่บทให้ตรวจสอบจากโครงการจัดทำแผนที่ภาษีฯ ของ อปท. โดย อปท. อาจจะจัดทำแผนที่แม่บทครอบคลุมทั้งพื้นที่หรือเพียงบางส่วนของพื้นที่ก็ได้
- 2) กรณี อปท. ได้จัดทำด้วยระบบมือ และระบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์หรืออย่างใดอย่างหนึ่ง
- 3) กรณี อปท. จัดทำด้วยโปรแกรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (LTAX GIS) ของ สถ. หรือด้วยโปรแกรมของหน่วยงานอื่น ให้ตรวจสอบการจัดทำแผนที่แม่บทในแต่ละขั้นตอนจากโปรแกรมฯ นั้นฯ ซึ่งจะต้องปรากฏข้อมูลแผนที่แม่บทตามขั้นตอนที่ (1) – (6)
- 4) กรณี อปท. ได้จัดทำแผนที่แม่บทในขั้นตอนที่ (2) แล้ว ให้ถือว่าได้ดำเนินการในขั้นตอนที่ (1) เสร็จแล้ว
- 5) กรณีพื้นที่ อปท. ใดมีเอกสารที่ดินเป็น สปก.4 - 01 หาก อปท. ได้รับข้อมูลจากสำนักงานปฏิรูปที่ดินจังหวัด ซึ่งเป็นไฟล์ Auto cat ให้ถือว่าได้ดำเนินการในขั้นตอนที่ (1) และ (2) แล้ว
- 1.2.5 ผลการคัดลอกข้อมูลที่ดิน
- 1) ในการคัดลอกข้อมูลที่ดิน อปท. จะต้องขอถ่ายเอกสารในสารบบที่ดิน (ทด.1 ทด.9 นส.5) หรือพิมพ์จากระบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (LIS) ของ สนง.ที่ดิน แล้วคัดลอกข้อมูลที่ดินลงในแบบสำรวจข้อมูลที่ดิน (ผ.ท.1) ทุกแปลงและกำหนดรหัสแปลงที่ดินตามแผนที่แม่บทที่ได้จัดทำเสร็จแล้ว
- 2) การตรวจสอบว่า อปท. มีจำนวนแปลงที่ดินจำนวนกี่แปลง โดยตรวจสอบจากแผนที่แม่บทตามโครงการจัดทำแผนที่ภาษีฯ ของแต่ละ อปท.
- 3) สูตรการคำนวณ = (จำนวนแปลงที่ดินที่คัดลอกลง ผ.ท. 1 X 100 )/จำนวนแปลงที่ดินตามแผนที่แม่บทฯ
- 4) กรณี อปท. ใดไม่ได้จัดทำ แผนที่แม่บทตามโครงการจัดทำแผนที่ภาษีฯ จะไม่ได้คะแนนในข้อนี้
- 1.2.6 ผลการสำรวจข้อมูลภาคสนาม
- 1) การสำรวจข้อมูลสนาม หมายถึง อปท. จะต้องออกสำรวจรายละเอียดข้อมูลเกี่ยวกับทรัพย์สินต่างๆ ของประชาชนในพื้นที่ โดยข้อมูลเกี่ยวกับที่ดินจะบันทึกลงในแบบ ผ.ท.1 ข้อมูลเกี่ยวกับโรงเรือนและสิ่งปลูกสร้างจะบันทึกลงในแบบ ผ.ท.2 ข้อมูลเกี่ยวกับป้ายและการประกอบการค้าจะ
- 2) การตรวจสอบว่า อปท. มีจำนวนแปลงที่ดินจากข้อมูลแผนที่แม่บท แต่ละแผนตามโครงการจัดทำแผนที่ภาษีฯ ของแต่ละ อปท.
- 3) สูตรการคำนวณ = (จำนวนแปลงที่ดินสำรวจข้อมูลภาคสนาม X 100) /จำนวนแปลงที่ดินตามแผนที่แม่บทฯ
- 4) ให้ตรวจสอบว่า อปท. ได้มี การสำรวจข้อมูลภาคสนามได้เป็นร้อยละเท่าไรของจำนวนแปลงที่ดินทั้งหมดตามข้อ 2
- 1.2.7 การนำทะเบียนทรัพย์สิน (ผ.ท.4) และทะเบียนคุมผู้ชำระภาษี (ผ.ท.5) ไปใช้เป็นข้อมูลในการประเมินภาษี
- 1) ให้ตรวจสอบว่า ภ.ร.ด.2, ภ.บ.ท.5 และ ภป.1 มีการประทับตราข้อความว่าได้ตรวจสอบกับ ผ.ท.4 และ ผ.ท.5 หรือไม่
- 2) ให้ตรวจสอบว่า ผ.ท. 5 ของผู้อยู่ในข่ายต้องชำระภาษีว่าได้มีการบันทึกข้อมูลการชำระภาษี (รับยื่นแบบประเมิน และชำระภาษี) และ ได้มีการติดสลิปสีเขียวหรือไม่
- 1.2.8 การปรับข้อมูลทะเบียนทรัพย์สิน (ผ.ท.4) เป็นปัจจุบัน
- 1) ให้ตรวจสอบจากแบบบัญชีแสดงรายการปรับข้อมูล (ผ.ท.13) จาก ผู้ที่รับผิดชอบจากหน่วยงานคลัง และผู้บังคับบัญชาลงลายมือชื่อรับทราบ
- 2) ให้ตรวจสอบจากทะเบียนทรัพย์สิน (ผ.ท.4) ว่ามีการปรับปรุงข้อมูลตามแบบ ผ.ท.13 ตามข้อ 1 หรือไม่ (ข้อสังเกต) หากมีการปรับข้อมูลในทะเบียนทรัพย์สิน (ผ.ท.4) จะมีข้อมูลการปรับปรุง ดังนี้
- 2.1 มีรหัสแปลงที่ดินรหัสใหม่ขึ้นมา เช่น รหัสที่ดินเดิมเป็น 01A001 หากมีการปรับปรุงข้อมูลจะมีรหัสแปลงเพิ่มขึ้นมาเป็น 01A001/001 เป็นต้น
- 2.2 จะมีการขีดฆ่าข้อความเดิมด้วยปากกาสีแดงและเขียนข้อความใหม่
- 1.2.9 การปรับปรุงข้อมูลแผนที่ภาษี (ผ.ท.7) เป็นปัจจุบัน
- 1) ให้ตรวจสอบจากแบบบัญชีแสดงรายการปรับข้อมูล (ผ.ท.13) จาก ผู้ที่รับผิดชอบจากฝ่ายช่าง และผู้บังคับบัญชาลงลายมือชื่อรับทราบ
- 2) ให้ตรวจสอบจากแผนที่ภาษี (ผ.ท.7) ว่ามีการปรับปรุงข้อมูลตามแบบรายงาน ผ.ท.13 ตามข้อ 1 หรือไม่
- 1.2.10 อัตราการเพิ่มขึ้นของจำนวนผู้เสียภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีป้าย และภาษีบำรุงท้องที่
- 1.2.11 อัตราการเพิ่มขึ้นของจำนวนผู้เสียค่าธรรมเนียมและใบอนุญาตตาม พ.ร.บ. การสาธารณสุข พ.ศ.2535
- 1.2.12 อปท. มีลูกหนี้ผู้ค้างชำระภาษีเกินกว่า 3 ปี เป็นอัตราร้อยละของผู้ชำระภาษีปีปัจจุบัน
- 1.2.13 อปท.มีลูกหนี้ผู้ค้างชำระภาษีลดลงจากปีที่ผ่านมาเป็นอัตราร้อยละ
- หมวดที่ 2 การจัดทำงบประมาณ
- 2.1 อปท. เสนอร่างงบประมาณรายจ่ายประจำปีต่อสภาท้องถิ่น
- 1 ) ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
- 2 ) รายงานการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปี
- 3 ) ข้อมูลจากระบบ E-LAAS
- 2.2 อปท.จัดทำข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี ให้สามารถใช้ทันได้ในวันที่ ๑ ตุลาคม และส่งสำเนาประกาศให้ผู้กำกับดูแล และจัดทำรายงานข้อมูลเผยแพร่ประชาชนใน 30 วันหลังสิ้นสุดงบประมาณ พ.ศ. 2561
- 2.3 การตั้งงบประมาณรายจ่ายงบประมาณ หมวด ค่าครุภัณฑ์ ที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ในข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ
- 1) ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติประจำปี - สูตรการคำนวณ = (งบหมวดครุภัณฑ์ที่ดิน-สิ่งก่อสร้าง x 100 งบประมาณรายจ่ายตามข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ)
- 2.4 การโอนงบประมาณรายจ่ายประจำปีข้ามหมวด(ยกเว้น กรณีโอนตามนโยบายรัฐบาลและการโอนเงินเหลือจ่ายจากการจัดซื้อจัดจ้างหมวดครุภัณฑ์ฯ)
- หมวดที่ 3 การพัสดุ
- 3.1 การตรวจรับพัสดุงานจ้างก่อสร้างคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะต้องตรวจผลงาน ภายใน 3 วันทำการ นับแต่วันที่ประธานกรรมการได้รับทราบการส่งมอบงาน (จัดจ้างทุกโครงการที่อยู่ในหมวดที่ดินและสิ่งก่อสร้างตามข้อบบัญญัติ/ เทศบัญญัติ และเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ)
- 1) ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วย การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ข้อ 176
- 2) ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ
- 3) ใบจัดสรรเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ
- 3.2 การบริหารสัญญาให้เป็นไปตามกำหนดผู้ควบคุมงานได้จัดทำรายงานผลการปฎิบัติงานของผู้รับจ้างตามสัญญาในวันกำหนดเริ่มงานของผู้รับจ้างตามสัญญาและในวันที่กำหนดส่งมอบงานแต่ละงวด โดยได้รับรายงานว่าเป็นไปตามสัญญาหรือไม่ ให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุหรือผู้ทีได้รับมอบหม
- 1) ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วย การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ข้อ 178
- 2) คำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ
- 3) รายงานผลการปฏิบัติของผู้รับจ้าง
- 3.3 การตรวจสอบพัสดุประจำปี ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตรวจสอบพัสดุคงเหลือ มีตัวตนอยู่ตรงตามบัญชีหรือทะเบียนหรือไม่ มีพัสดุใดหมดความจำเป็น ให้แต่งตั้งผู้รับผิดชอบในการตรวจสอบพัสดุและรายงานผลการตรวจสอบต่อผู้แต่งตั้ง ภายใน 30 วันทำการ นับแต่วันเริ่มดำเนินการ
- 1) ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วย การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ข้อ 213
- 2) คำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ
- 3) ผลการรายงาน
- 3.4 การประหยัดงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรณีการจัดซื้อจัดจ้างทุกวิธี และมีเงินเหลือจ่ายจากการจัดซื้อจัดจ้าง (จัดซื้อจัดจ้างทุกโครงการที่อยู่ในหมวดค่าครุภัณฑ์ที่ดินและสิ่งก่อสร้างตามข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติและเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ)
- 1) ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ
- 2) ใบจัดสรรเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ
- 3) ฎีกาเบิกจ่ายเงิน
- 3.5 การเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดซื้อ จัดจ้าง งบประมาณหมวดเงินครุภัณฑ์ ที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง ที่มีงบประมาณสูงสุด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561)
- 1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ
- 2. ฎีกาการเบิกจ่าย
- 2. ฎีกาการเบิกจ่าย
- 3. เอกสารการจัดซื้อจัดจ้าง
- 4. แบบรายงานผลการปฏิบัติงานจัดซื้อ จัดจ้างตามประกาศ คตง. เรื่องการจัดทำแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2546
- 3.6 กรณีงานซื้อหรืองานจ้างที่มีวงเงินเกิน หนึ่งแสนบาท อปท. ได้ประกาศเผยแพร่ราคากลางตามแนวทาง ป.ป.ช.ในเว็บไซต์อย่างน้อย 2 เว็บไซต์ขึ้นไปตามแบบและหลักเกณฑ์ที่กำหนด
- 1) ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ ปี 2560
- 2) ประกาศขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- 3) เว็บไซต์ของกรมบัญชีกลางและเว็บไซต์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- 4) ช่องทางอื่น เช่น จังหวัดที่กำหนด หอกระจายข่าว/ประชาสัมพันธ์ประชาหมู่บ้าน เป็นต้น
- 3.7 การดำเนินการเกี่ยวกับราคากลาง
- 1) ให้ตรวจสอบหลักฐานจากคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดราคากลาง, บันทึก ขออนุมัติ/ เห็นชอบราคากลาง และการเปิดเผยราคากลางตามสถานที่ที่กำหนด
- 2) พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2542 มาตรา 103/7วรรคหนึ่งซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดย พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2554
- 3) หนังสือ ที่ มท0808.2/ว 2120 ลว. 2 ต.ค.2556
- 3.8 คณะกรรมการตรวจการจ้างได้ออกไปตรวจรับงานจ้างที่ผู้รับจ้างส่งมอบภายใน ๓ วันทำการ นับตั้งแต่วันที่ประธานคณะกรรมการตรวจการจ้าง ได้ทราบการส่งมอบงาน
- 1) เอกสารการส่งมอบงาน
- 2) เอกสารตรวจรับการจ้าง
- 3) หลักฐานแสดงวันที่ประธานคณะกรรมการตรวจการจ้างรับทราบการส่งมอบงาน และนัดตรวจรับงาน
- หมวดที่ 4 การบริหารการเงินและบัญชี
- 4.1.3 การกันเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปีและงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมกรณี ยังไม่ก่อหนี้ผูกพันในหมวดค่าครุภัณฑ์ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง เป็นอัตราร้อยละของงบประมาณรายจ่ายประจำปีและงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม
- หมวดย่อยที่ 1 การบริหารรายจ่าย
- 4.1.1 อปท. เบิกจ่ายเงินงบประมาณในข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2560
- 1. รายได้ อปท. จัดเก็บเอง
- 2. รายได้รัฐจัดเก็บและจัดสรรให้/รายได้รัฐจัดเก็บและแบ่งเพิ่มให้
- 3. เงินอุดหนุนทั่วไป ที่กำหนดในข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2561
- 4.1.2 อปท.มีการจัดทำแผนการใช้จ่ายเงินต่อหน่วยงานคลังทุกไตรมาสและเบิกจ่ายเงิน 4 ประเภท (ค่าตอบแทน, ค่าใช้สอย,ค่าวัสดุ,ค่าครุภัณฑ์ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง)เป็นไปตามแผนการใช้จ่ายเงิน
- 1) ตรวจสอบจากรายจ่ายตามรายงานรับ-จ่ายเงินสดประจำเดือนเมื่อสิ้นปีงบประมาณเปรียบเทียบกับแผน การใช้จ่าย
- 4.1.3 การกันเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปีและงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมกรณี ยังไม่ก่อหนี้ผูกพันในหมวดค่าครุภัณฑ์ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง เป็นอัตราร้อยละของงบประมาณรายจ่ายประจำปีและงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม
- 1) รายงานการประชุมสภาท้องถิ่นฯ
- 2) บันทึกอนุมัติให้กันเงิน กรณีไม่ก่อหนี้ผูกพัน ในหมวด ค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง เปรียบเทียบกับงบประมาณรายจ่ายประจำปี และงบประมาณรายจ่าย
- 4.1.4 การวางฎีกาเบิกจ่ายเงินของหน่วยงานผู้เบิก อย่างช้าไม่เกิน 5 วันนับจากวันที่ได้ตรวจรับทรัพย์สินหรือตรวจรับงานถูกต้อง
- 1) กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง
- 2) ระเบียบ มท.ว่าด้วยการรับเงิน ฯ ข้อ 47 การซื้อ เช่าทรัพย์สิน หรือจ้างทำของ ให้หน่วยงานผู้เบิกรีบดำเนินการวางฎีกา เบิกเงินโดยเร็ว อย่างช้าไม่เกิน ห้าวัน นับจากวันที่ได้ตรวจรับทรัพย์สินหรือตรวจรับงานถูกต้อง
- 4.1.5 การใช้จ่ายงบประมาณรายจ่าย หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดิน สิ่งก่อสร้างที่มิใช่รายจ่ายประจำ พิจารณาจากการเบิกจ่ายปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
- หมวดย่อยที่ 2 การจัดทำบัญชีและรายงานการเงิน
- 4.2.1 การบันทึกบัญชีเป็นปัจจุบันและจัดทำรายงานการเงินประจำเดือนเสนอผู้บริหารท้องถิ่นได้ในเดือนถัดไป โดยเฉลี่ย
- 1) ตรวจสอบหลักฐานจาก บันทึกเสนอรายงานการเงินประจำเดือน
- 4.2.2 การจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
- 1) รายงานประมาณการรายรับ - รายจ่ายจากระบบ e-LAAS เปรียบเทียบกับเทศบัญญัติ/ข้อบัญญัติปี 2560 ที่ได้รับอนุมัติ ที่เมนู ระบบงบประมาณ >รายงาน >การโอนเปลี่ยนแปลง/การแก้ไขเปลี่ยนแปลงคำชี้แจงงบประมาณ
- 2) รายงานการโอนงบประมาณจากเอกสารการขออนุมัติโอนงบประมาณเปรียบเทียบกับรายงานการโอนงบประมาณในระบบ e-LAAS ที่เมนู ระบบงบประมาณ > รายงาน >ประมาณการรายรับ- ประมาณการรายจ่าย
- 4.2.3 การบันทึกข้อมูลผู้เสียภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีบำรุงท้องที่และภาษีป้าย (กรณีเทศบาล และ อบต.เท่านั้น ไม่ใช้กับ อบจ.)
- 1) รายละเอียดผู้ชำระภาษี (กค.1) ในระบบมือเปรียบเทียบจำนวนผู้อยู่ในข่ายที่ต้องเสียภาษีกับรายละเอียดผู้ชำระภาษี (กค. 1) ในระบบ e-LAAS ที่เมนู ระบบข้อมูลรายรับ >ฐานข้อมูลผู้ชำระภาษี >รายละเอียดผู้ชำระภาษี (กค.1) หรือรายงานรายชื่อผู้เสียภาษีทั้งหมด ปีปัจจุบัน
- 4.2.4 การบันทึกข้อมูลบุคลากรของ อปท. ทั้งฝ่ายการเมืองและฝ่ายประจำให้ครบถ้วน ถูกต้อง เป็นปัจจุบันทั้งข้อมูลพื้นฐาน ข้อมูลบุคลากร และข้อมูลการรับเงิน
- 1) ตรวจสอบข้อมูลบุคลากรทั้งหมดที่สังกัด อปท. (รวมข้าราชการครูสังกัด ศพด.) กับฐานข้อมูล ผู้รับเงินเดือนที่บันทึกไว้ในระบบ e-LAAS ที่เมนู ระบบข้อมูลรายจ่าย >ฐานข้อมูลผู้รับเงินเดือน/บำนาญ >รายละเอียดผู้ได้รับเงินเดือน/ค่าตอบแทน แยกตามกลุ่มงาน
- 4.2.5 การดำเนินการรับ และบันทึกข้อมูลในระบบฯ
- 1) ตรวจสอบด้านรายรับจากสมุดเงินสดรับ/ทะเบียนรายรับที่บันทึกบัญชีมือเปรียบเทียบกับสมุดเงินสด/ทะเบียนรายรับ ที่บันทึกในระบบ e-LAAS ที่เมนู ระบบข้อมูลรายรับ > ค้นหารายการที่รับเงินแล้ว > ทะเบียนรายรับ/สมุดเงินสดรับ
- 4.2.6 การดำเนินการจ่ายเงินและบันทึกข้อมูลในระบบฯ
- 1) กรณีมีการดำเนินการ หมายถึง ใช้งานในระบบตามวัน เวลาจริง
- 2) กรณีบันทึก หมายถึง การนำข้อมูลการจ่ายเงินมาดำเนินการในระบบย้อนหลัง
- 4.2.7 อปท.จัดทำงบแสดงฐานะการเงินและรายงานการเงินต่างๆ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ส่งให้ สตง. (ภายใน 30 ต.ค.) และสำนักงานคลังจังหวัด (ภายในเดือน ม.ค.)
- 1) ตรวจสอบหลักฐานเอกสารส่งงบแสดงฐานะการเงินฯ ให้ สตง. (ควรสำเนาส่งให้จังหวัดด้วย)
- 4.2.8 การปิดบัญชีและจัดทำงบแสดงฐานะทางการเงินประจำปี 2560 ในระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ของ อปท. (e-LAAS)
- หมวดที่ 5 บำเหน็จบำนาญข้าราชการส่วนท้องถิ่น
- 5.1 การจัดส่งเงินสมทบกองทุนบำเหน็จบำนาญฯ ประจำปีงบประมาณ 2561 ครบถ้วนถูกต้อง ตามอัตราและระยะเวลาที่กฎหมายกำหนด
- 5.2 การจัดส่งเงินสมทบกองทุนบำเหน็จบำนาญฯ ย้อนหลัง 5 ปี (ประจำปีงบประมาณ 2557 – 2561)
- 5.3 การจัดทำทะเบียนข้าราชการบำนาญส่วนท้องถิ่นของ อปท.
- 5.4 การจัดทำและรายงานบัญชีรายชื่อข้าราชการส่วนท้องถิ่นผู้มีสิทธิที่จะได้รับบำเหน็จบำนาญ ซึ่งจะมีอายุครบ 60 ปีบริบูรณ์ในปีงบประมาณถัดไป
- หมวดที่ 6 ผลสัมฤทธิ์
- หมวดย่อยที่ 1 ข้อทักท้วง
- 6.1.1 การทักท้วงด้านการพัสดุประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 จากหน่วยงานที่มีหน้าที่ตรวจสอบ
- 1) ตรวจสอบหลักฐานข้อทักท้วงที่เป็นลายลักษณ์อักษรของ สตง. /จังหวัด/สถ. หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
- 6.1.2 การทักท้วงด้านการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 และงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จากหน่วยงานที่มีหน้าที่ตรวจสอบ
- 1) ตรวจสอบหลักฐานข้อทักท้วงที่เป็นลายลักษณ์อักษรของ สตง. /จังหวัด/สถ. หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
- 6.1.3 การทักท้วงด้านการจัดเก็บรายได้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 จากหน่วยงานที่มีหน้าที่ตรวจสอบ
- 1) ตรวจสอบหลักฐานข้อทักท้วงที่เป็นลายลักษณ์อักษรของ สตง. /จังหวัด/สถ. หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
- 6.1.4 มีการทักท้วงด้านการเบิกจ่ายเงิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 จากหน่วยงาน ที่มีหน้าที่ตรวจสอบ
- 1) ตรวจสอบหลักฐานข้อทักท้วงที่เป็นลายลักษณ์อักษรของ สตง. /จังหวัด/สถ. หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
- 6.1.5 มีการดำเนินการตามข้อทักท้วงของหน่วยที่ตรวจสอบและดำเนินการแจ้งให้ทราบ
- 1) ข้อทักท้วงและการดำเนินการตามข้อทักท้วงของ สตง./จังหวัด/บุคลากร สถ. หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
- หมวดย่อยที่ 2 การเพิ่มขึ้นของรายได้
- 6.2.1 การเพิ่มขึ้นโดยรวมของจำนวนเงินภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีป้าย ภาษีบำรุงท้องที่ของเทศบาล หรือ อบต.
- 1) ตรวจสอบจากรายรับจริงประกอบ งบทดลอง ประจำปีงบประมาณ 2560 ของภาษี 3 เรื่อง (ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีบำรุงท้องที่ และภาษีป้าย) แล้วนำมาคำนวณเพื่อเปรียบเทียบประกอบกับทะเบียนคุมผู้ชำระภาษี (ผ.ท.5)
- 6.2.2 การเพิ่มขึ้นโดยรวมของจำนวนเงิน ค่าธรรมเนียมและใบอนุญาตตาม พ.ร.บ. การสาธารณสุข พ.ศ.2535
- 1) ตรวจสอบจากรายรับจริงประกอบงบทดลอง ประจำปีงบประมาณ 2559 และ 2560 ของค่าธรรมเนียมและใบอนุญาตตาม พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ.2535 แล้วนำมาคำนวณเพื่อเปรียบเทียบ ประกอบกับทะเบียนคุมผู้ชำระภาษี (ผ.ท.5)
- 6.2.3 สัดส่วนจำนวนเงินภาษีโรงเรือนและที่ดินภาษีป้าย ภาษีบำรุงท้องที่ ค่าธรรมเนียมและใบอนุญาตตาม พ.ร.บ. การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ที่จัดเก็บได้โดยรวมต่อจำนวนเงินผู้ที่อยู่ในข่ายต้องชำระภาษีทั้งหมด ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
- กรณีประเมินเทศบาล/อบต
- ด้านที่ 4 การบริการสาธารณะ
- หมวดที่ 1 โครงสร้างพื้นฐาน
- หมวดย่อยที่ 1 ด้านถนน ทางเดิน และทางเท้า
- 1.1.1 การจัดทำแผนการตรวจสอบถนนในความรับผิดชอบของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- 1) บัญชีทะเบียนประวัติถนน (ข้อมูลจำนวนถนนทุกสายที่อยู่ในความรับผิดชอบของ อปท.) เพื่อทราบจำนวนถนนทั้งหมดของ อปท.
- 2) แผนการตรวจสอบถนนประจำปี โดยจัดลำดับการตรวจสอบตามความจำเป็น
- 3) บันทึกขออนุมัติแผน
- 4) บันทึกรายงานผลการตรวจที่ปรากฏข้อสั่งการของผู้บริหารลงนามรับทราบผลการตรวจสอบ
- 5) แผนที่ถนน ในกรณีที่ อปท.ยังไม่มีการลงทะเบียนทางหลวงท้องถิ่น
- 1.1.2 ร้อยละของการซ่อมแซมถนนในความรับผิดชอบของ อปท. ตามรายงานผลการตรวจสอบถนนประจำปี
- 1) บัญชีทะเบียนประวัติถนน (ข้อมูลจำนวนถนน ทุกสายที่อยู่ในความรับผิดชอบของ อปท.) เพื่อทราบจำนวนถนนทั้งหมดของ อปท.
- 2) แผนการตรวจสอบถนนประจำปี โดยจัดลำดับการตรวจสอบตามความจำเป็นที่ปรากฏข้อสั่งการของผู้บริหารลงนามรับทราบผลการตรวจสอบและสั่งการ
- 3) ผลการซ่อมแซมถนนในความรับผิดชอบของ อปท.
- 4) ภาพถ่ายก่อนและหลังซ่อมแซม
- 5) ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณการซ่อมแซมถนน ประจำปี 2561
- 1.1.3 ร้อยละของถนนในความรับผิดชอบ
- 1) บัญชีทะเบียนประวัติถนน (ข้อมูลจำนวนถนนทุกสายที่อยู่ในความรับผิดชอบของ อปท.)
- 2) หลักฐานการส่งไปลงทะเบียนเป็นทางหลวงท้องถิ่น (ทถ.1 , ทถ.3 , ทถ.4 , ทถ.5)
- 1.1.4 ร้อยละของถนนในความรับผิดชอบของ อปท. ที่ได้ลงทะเบียนเป็นทางหลวงท้องถิ่น ถึงปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
- 1) บัญชีทะเบียนประวัติถนน (ข้อมูลจำนวน ถนนทุกสายที่อยู่ในความรับผิดชอบของ อปท.)
- 2) หลักฐานการลงทะเบียนทางหลวงท้องถิ่น (ทถ.1 , ทถ.3 , ทถ.4 , ทถ.5)
- 1.1.5 ร้อยละของความยาวถนนลาดยาง/คอนกรีต ต่อความยาวของถนนทั้งหมดในความรับผิดชอบของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ณ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561)
- 1) บัญชีทะเบียนประวัติถนน
- 2) รายงานประจำปีเกี่ยวกับการก่อสร้างถนนลาดยาง/คอนกรีต
- 3) ภาพถ่าย
- 1.1.6 การจัดทำฐานข้อมูลเพื่อวิเคราะห์ การจัดการโครงสร้างพื้นฐาน
- 1) เอกสารหลักฐานการสำรวจฐานข้อมูลโครงสร้างพื้นฐาน
- 2) เอกสารรายงานฐานข้อมูลโครงสร้างพื้นฐาน
- 3) แผนพัฒนาท้องถิ่น
- 1.1.7 ร้อยละของสถานที่สาธารณะที่อยู่ในการดูแล รักษา หรือบริหารจัดการของเทศบาลที่มีการดำเนินงานด้านอารยสถาปัตย์ (Universal Design)
- 1) แผนงาน/โครงการด้านอารยสถาปัตย์
- 2) แบบแปลน
- 3) ภาพถ่าย
- 4) รายงานผลการดำเนินงาน
- 5) ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ - สูตรการคำนวณ
- หมวดย่อยที่ 2 ด้านไฟฟ้าสาธารณะ
- 1.2.1 ร้อยละของถนนสายหลักที่มีการติดตั้งไฟฟ้าสาธารณะตามจุดเสี่ยงต่าง ๆ และสามารถใช้งานได้
- 1) ข้อมูลถนนสายหลักของ อปท.
- 2) แบบแปลนหรือแผนผังการติดตั้งไฟฟ้าสาธารณะหรือสุ่มดูข้อมูลตามจุดเสี่ยง
- 3) หนังสือร้องเรียนที่เกี่ยวข้อง
- 4) ภาพถ่าย
- 1.2.2 ร้อยละของถนนสายหลักที่อยู่ในความรับผิดชอบของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่มีการติดตั้งไฟฟ้าสาธารณะตลอดสาย และสามารถใช้งานได้
- 1) ข้อมูลถนนสายหลักของ อปท.
- 2) แผนงาน/โครงการติดตั้งไฟฟ้าสาธารณะ
- 3) แบบแปลน/แผนผังแสดงที่ตั้งไฟฟ้าสาธารณะ
- 4) ภาพถ่าย
- 1.2.3 การดูแลบำรุงรักษา/ซ่อมแซม ไฟฟ้าสาธารณะ และไฟฟ้าตามจุดเสี่ยงต่าง ๆ ที่อยู่ในความรับผิดชอบของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- 1) แผนการตรวจสอบไฟฟ้าสาธารณะ และไฟฟ้าตามจุดเสี่ยงต่าง ๆ ที่อยู่ในความรับผิดชอบของ อปท.
- 2) บันทึกขออนุมัติแผนการตรวจสอบไฟฟ้าสาธารณะ และไฟฟ้าตามจุดเสี่ยงต่าง ๆ ที่อยู่ในความรับผิดชอบ ของ อปท.
- 3) รายงานผลการตรวจสอบไฟฟ้าสาธารณะ และไฟฟ้าตามจุดเสี่ยงต่าง ๆ ที่อยู่ในความรับผิดชอบของ อปท.
- 4) หลักฐานผลการดำเนินงานตามแผนการตรวจสอบไฟฟ้าสาธารณะ และไฟฟ้าตามจุดเสี่ยง ต่าง ๆ ที่อยู่ในความรับผิดชอบของ อปท.
- 5) ตรวจดูเอกสารหลักฐาน กรณีที่ อปท. จัดซื้อจัดจ้างจากเอกชนดำเนินการ
- 6) ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจำปี2561
- 7) แบบแจ้ง/หนังสือร้องเรียน
- หมวดย่อยที่ 3 ด้านน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค
- 1.3.1 การตรวจสอบคุณภาพน้ำอุปโภคบริโภคของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้ครบทุกระบบประปา
- 1) รายงานผลการตรวจสอบคุณภาพน้ำประปาโดยเครื่องมือภาคสนามอย่างง่าย
- 2) รายงานผลการตรวจสอบคุณภาพน้ำที่ได้มาตรฐานน้ำอุปโภคบริโภค จากหน่วยงานที่มีอำนาจหน้าที่ในการตรวจสอบคุณภาพน้ำ
- 3) ผลดำเนินการสืบเนื่องจากการตรวจสอบ
- 4) ภาพถ่าย
- 1.3.2 ร้อยละของครัวเรือนที่มีน้ำประปาใช้และมีปริมาณเพียงพอต่อเนื่องตลอด 24 ชั่วโมง
- 1) ข้อมูล กชช. 2 ค
- 2) สอบถามจากผู้นำหมู่บ้าน/ชุมชน
- 3) รายงานการยืนยัน/ตรวจสอบจากผู้นำชุมชน/กำนัน/ผู้ใหญ่บ้าน
- หมวดย่อยที่ 4 การตรวจสอบอาคาร
- 1.4.1 การดำเนินการเกี่ยวกับอาคาร 9 ประเภทตาม ม.32 ทวิ พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522
- 1) แบบบันทึกข้อมูลอาคาร 9 ประเภท
- 2) หนังสือแจ้งเจ้าของอาคาร 9 ประเภทให้ดำเนินการ
- 3) หนังสือรับรองการตรวจสภาพอาคารของเจ้าของอาคาร
- 4) หนังสือแจ้งจังหวัดเพื่อรายงานผลการดำเนินการ
- 1.4.2 การดำเนินการเกี่ยวกับอาคารที่อาจไม่เข้าข่ายอาคาร 9 ประเภท
- 1) คำสั่งจัดตั้งคณะทำงานดำเนินการตรวจสอบอาคารที่ไม่เข้าข่ายฯ
- 2) รายงานผลการดำเนินงานตรวจสอบอาคารที่ไม่เข้าข่ายฯ และการสั่งแก้ไขหากพบข้อบกพร่อง
- 3) หนังสือรายงานผลให้จังหวัดทราบ
- หมวดที่ 2 ด้านงานสํงเสริมคุณภาพชีวิต
- หมวดย่อยที่ 1 ด้านการศึกษา
- 1) บันทึกการขออนุญาตไปราชการเพื่อเข้ารับการฝึกอบรม เกี่ยวกับประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
- 2.1.1.1 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีการจัดทำแผนพัฒนาการศึกษาของ อปท.
- 1) คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการการศึกษาท้องถิ่น ของ อปท.
- 2) คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน หรือคณะกรรมการของสถานศึกษา ที่เรียกชื่ออื่น ๆ เช่น โรงเรียนพระปริยัติธรรม/ โรงเรียน/วิทยาลัยอาชีวศึกษาโรงเรียน 2 ภาษา เป็นต้น
- 3) รายงานการประชุมคณะกรรมการที่มีมติเห็นชอบแผน
- 4) การประกาศใช้แผน ฯ ทั้งของ อปท. และของสถานศึกษา
- 5) แผนพัฒนาการศึกษาของ อปท. (2 แผน) และสถานศึกษา แห่งละ 4 แผน
- 6) แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา
- 2.1.1.2 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการกำหนดนโยบายด้านการศึกษาและมีการนำนโยบายสู่การปฏิบัติ
- 1) ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายฯ
- 2) รายงานการประชุม/บันทึกข้อมูลสั่งการ หรือเอกสารอื่นใดที่บันทึกเกี่ยวกับการประกาศนโยบายหรือข้อสั่งการด้านการศึกษาของนายกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- 3) ภาพถ่าย
- 4) แผนพัฒนาท้องถิ่น ฯลฯ
- กลุ่มย่อยที่ 2 ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา
- 2.1.1.2.1 คะแนนเฉลี่ยรวมการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (o-net) ของนักเรียนในโรงเรียนสังกัด อปท. เฉลี่ยรวมทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ในทุกระดับที่สอบ สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยรวมของปีการศึกษาที่ผ่านมา
- 1) ผลคะแนนเฉลี่ยรวมการสอบ O-net ของนักเรียนในโรงเรียนสังกัด อปท. เปรียบเทียบกันระหว่าง ปีการศึกษา 2560 กับปีการศึกษา 2561
- 2.1.1.2.2 โรงเรียน/สถานศึกษามีการจัดการศึกษาที่มีมาตรฐาน
- 1) แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง
- 2) ภาพถ่าย
- 3) หนังสือแจ้งเข้าร่วมกิจกรรม
- 3) หนังสือแจ้งเข้าร่วมกิจกรรม
- 4) หลักสูตรที่เกี่ยวข้อง
- 5) คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสถานศึกษา
- กลุ่มที่ 2 การศึกษานอกระบบ (กิจการ ศพด.)
- 2.1.2.1 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีกิจกรรม เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาการของเด็กใน ศพด.
- 1) รายงานการประชุมสภาท้องถิ่นที่นายกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแถลงนโยบายก่อนเข้ารับหน้าที่
- 2) แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
- 3) แผนพัฒนาการศึกษาของท้องถิ่นที่เป็นปัจจุบัน
- 4) หนังสือแจ้งเข้าร่วมกิจกรรม
- 5) หนังสือขอความร่วมมือจากหน่วยงานอื่น
- 2.1.2.2 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีการส่งเสริมสนับสนุนการเรียนการสอนและการดำเนินกิจการของ ศพด.
- 1) ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายฯ
- 2) แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
- 3) ภาพถ่าย
- 4) หนังสือแจ้งเข้าร่วมกิจกรรม
- 5) หนังสือขอความร่วมมือจากหน่วยงานอื่น
- กลุ่มที่ 3 การศึกษาตามอัธยาศัย
- 2.1.3.1 การดำเนินการเพื่อจัดให้มีหรือส่งเสริมการจัดให้มีแหล่งเรียนรู้ชุมชนในพื้นที่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- 1) ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายฯ
- 2) แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
- 3) ภาพถ่าย
- 4) หนังสือแจ้งเข้าร่วมกิจกรรม
- 5) หนังสือขอความร่วมมือจากหน่วยงานอื่น
- 6) รายงานผลการดำเนินการ
- 7) ข้อมูล/จำนวนผู้เข้ามาใช้ประโยชน์
- 2.1.3.2 จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินการเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตามอัธยาศัย
- 1) ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายฯ
- 2) แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
- 3) ภาพถ่าย
- 4) หนังสือแจ้งเข้าร่วมกิจกรรม
- 5) หนังสือขอความร่วมมือจากหน่วยงานอื่น
- 6) รายงานผลการดำเนินการ
- 2.1.3.3 มีที่อ่านหนังสือประจำหมู่บ้าน/ชุมชนที่เป็นของ อปท.เอง
- 1) สถานที่ตั้งของที่อ่านหนังสือ
- 2) ภาพถ่าย / สภาพการใช้งาน
- 2.1.3.4 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการดำเนินกิจกรรมเพื่อส่งเสริมวัฒนธรรมรักการอ่านเกี่ยวกับที่อ่านหนังสือประจำหมู่บ้าน/ชุมชน
- 1) สถานที่ตั้งของที่อ่านหนังสือ
- 2) ภาพถ่าย / สภาพการใช้งาน
- 3) เอกสารและภาพถ่ายการจัดกิจกรรม
- 4) แผนการดำเนินงานเพื่อเสริมสร้างพฤติกรรมการอ่าน
- 5) แผนงาน/โครงการ กิจกรรมรณรงค์ฯ
- 6) คำสั่งแต่งตั้ง/มอบหมายเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ ฯลฯ
- กลุ่มที่ 4 การพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา
- 2.1.4.1 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีการดำเนินการเพื่อให้ครู/ครูผู้ดูแลเด็ก/ผู้ดูแลเด็กในสังกัดจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้/แผนการจัดประสบการณ์ปฐมวัยที่สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 และที่มีการปรับปรุง/หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2560
- 1) หลักฐานการจัดโครงการ/กิจกรรม
- 2) หลักฐานการส่งบุคลากรเข้าฝึกอบรมในหลักสูตรที่เกี่ยวข้อง
- 3) แผนการจัดการเรียนรู้/แผนการจัดประสบการณ์ปฐมวัยหรือหนังสือรับรองของผู้อำนวยการ/หัวหน้าสถานศึกษาว่า ครู/ครูผู้ดูแลเด็ก/ผู้ดูแลเด็กทุกคนจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้/ประสบการณ์ปฐมวัย
- 2.1.4.2 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการดำเนินการเพื่อให้ครู/ครูผู้ดูแลเด็ก/ผู้ดูแลเด็กในสังกัดดำเนินการจัดการเรียนรู้/ จัดประสบการณ์ปฐมวัยให้สอดคล้องกับแผนการจัดการเรียนรู้/แผนการจัดประสบการณ์ปฐมวัย
- 1) หลักฐานการดำเนินการโครงการ/กิจกรรม
- 2) หลักฐานส่งครู/ครูผู้ดูแลเด็ก/ผู้ดูแลเด็ก เข้ารับการฝึกอบรม/พัฒนา
- 3) ฯลฯ
- กลุ่มที่ 5 การบริหารจัดการสถานศึกษา
- 2.1.5.1 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นส่งเสริมสนับสนุนให้โรงเรียนในสังกัดจัดกิจกรรม หรือโรงเรียนในสังกัดจัดกิจกรรม/ชุมนุม/หลักสูตรจัดการเรียนรู้ ตามความสามารถ ความถนัด หรือความสนใจของผู้เรียน
- 1) หลักสูตรสถานศึกษา
- 2) แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
- 3) ภาพถ่าย
- 4) เอกสารหลักฐานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
- 5) ฯลฯ
- 2.1.5.2 โรงเรียนในสังกัดมีการจัดการเรียนการสอนนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ เรียนรวม(ตัวชี้วัดนำร่อง)
- 1) ข้อมูลนักเรียน
- 2) ข้อมูลการสนับสนุนอุปกรณ์การเรียนหรืออุปกรณ์อื่น
- 3) หลักฐานการบรรจุ/จ้าง/คำสั่ง แต่งตั้ง ครูสอนนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ
- 4) เอกสารหลักฐานที่แสดงว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/โรงเรียนในสังกัดมีนโยบายรับนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ
- 5) ฯลฯ
- 2.1.5.3 สถานศึกษาในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการตามวัยของนักเรียน (ตัวชี้วัดนำร่อง)
- 1) แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
- 2) เอกสารที่แสดงว่ามีการดำเนินการตามกิจกรรม
- 3) เอกสาร/หลักฐานแสดงการมีมาตรการ
- 4) ภาพถ่าย
- 5) ฯลฯ
- 2.1.5.4 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีการส่งเสริมสนับสนุนสถานศึกษาในสังกัดให้มีการประกันคุณภาพการศึกษา
- 1) บันทึกการขออนุญาตไปราชการเพื่อเข้ารับการฝึกอบรม เกี่ยวกับประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
- 2) แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่เกี่ยวกับการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
- 3) แผนการติดตาม/รายงานผลการติดตามที่เกี่ยวกับการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
- 4) รายงานผลการประเมินตนเอง (SAR) รายงานการตรวจสอบรายงานผลการประเมินตนเอง(SAR) ของสถานศึกษาที่ผู้รับผิดชอบ
- 5) เสนอผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหรือเอกสารหลักฐานอื่นที่แสดงเห็นว่ารายงานฯ (SAR) ได้รับการตรวจสอบจากต้นสังกัด
- 2.1.5.5 การจัดประสบการณ์ปฐมวัยด้วย DLTV ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก/โรงเรียนอนุบาลในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (วัดผลการดำเนินการปีงบประมาณ 2562) (ตัวชี้วัดนำร่อง)
- 1) เอกสารหลักฐานเกี่ยวกับการจัดหา DLTV
- 2) ภาพถ่าย
- 3) เอกสารหลักฐานการส่งบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้/จัดประสบการณ์ปฐมวัยได้รับการฝึกอบรม/พัฒนาเกี่ยวกับการใช้ DLTV ฯลฯ
- หมวดย่อยที่ 2 ด้านงานสาธารณสุข
- 2.2.1 จำนวนกิจกรรมที่ อปท. ดำเนินการเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้ทำหน้าที่ดูแลสุขภาพในหมู่บ้าน/ชุมชน (อสม. แกนนำสุขภาพ ผู้นำองค์กรในชุมชน ฯลฯ)
- 1) แผนพัฒนาสุขภาพหรือแผนงานสาธารณสุข
- 2) เอกสารประชาสัมพันธ์ เช่น แผ่นพับวิทยุชุมชน หอกระจายข่าว เว็บไซต์ ภาพถ่าย ฯลฯ
- 3) กิจกรรมที่ อปท. จัดหรือสนับสนุนการจัด อาจใช้จ่ายจากเงินอุดหนุนที่รัฐจัดสรรให้
- 4) ภาพถ่ายโครงการ
- 5) สำเนาโครงการ
- 6) ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจำปี 2561
- 7) หนังสือขอความร่วมมือจากหน่วยงานที่จัดกิจกรรม
- 8) รายงานผลการดำเนินการ
- 2.2.2 จำนวนกิจกรรมที่ อปท. ดำเนินการเพื่อให้ความรู้ แก่ประชาชนในการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
- 1) แผนงาน/โครงการ
- 2) เอกสารประชาสัมพันธ์ เช่น แผ่นพับ วิทยุชุมชนหอกระจายข่าว เว็บไซต์ ฯลฯ
- 3) ภาพถ่ายโครงการ
- 4) สำเนาโครงการ
- 5) ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจำปี 2561
- 6) หนังสือขอความร่วมมือจากหน่วยงานที่จัดกิจกรรม
- 7) รายงานผลการดำเนินการ
- 2.2.3 จำนวนกิจกรรมที่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินการส่งเสริมสุขภาพการป้องกันและควบคุมโรคต่าง ๆ รวมถึงการเตรียมความพร้อม การแก้ไขโรคติดต่อโรคอุบัติใหม่ให้แก่ประชาชน (ไม่ใช่การให้ความรู้)
- 1) แผนงาน/โครงการ
- 2) ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ งบประมาณรายจ่ายประจำปี
- 3) ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจำปี 2561
- 4) ภาพถ่ายกิจกรรม (ไม่ใช่กิจกรรมเฉพาะบุคคล)
- 5) การแจ้งทางเว็บไซต์ จดหมายข่าว
- 6) รายงานผลการดำเนินการ
- 2.2.4 จำนวนหน่วยบริการสาธารณสุขที่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินการหรือสนับสนุนในการดูแลสุขภาพประชาชน
- 1) ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ งบประมาณรายจ่ายฯ
- 1) ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ งบประมาณรายจ่ายฯ
- 2) แผนงาน/โครงการ
- 3) ภาพถ่ายกิจกรรม
- 4) ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจำปี 2561
- 5) หนังสือขอรับการสนับสนุน
- 2.2.5 จำนวนกิจกรรมที่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินการหรือสนับสนุนการดำเนินงานด้านการป้องกันโรคเอดส์ (ยกเว้นเงินสำหรับสงเคราะห์เบี้ยยังชีพ)
- 1) แผนงาน/โครงการ
- 2) ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ
- 3) งบประมาณรายงานประจำปี
- 4) ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจำปี 2561
- 5) ดำเนินการตามหนังสือสั่งการที่เกี่ยวข้อง
- 6) ภาพถ่าย
- 2.2.6 อปท. ผ่านการประเมินคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมด้านการจัดการสุขาภิบาล อาหาร และด้านการจัดการคุณภาพน้ำบริโภค
- 1. การจัดการสุขาภิบาลอาหาร
- 2. การจัดการคุณภาพน้ำบริโภค
- 3. การจัดการสิ่งปฏิกูล
- 4. การจัดการมูลฝอย
- 2.2.7 อปท. ผ่านการประเมินคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมด้านการจัดการ สิ่งปฏิกูลและด้านการจัดการมูลฝอย
- หมวดย่อยที่ 3 ด้านการส่งเสริมสตรีและครอบครัว
- 2.3.1 จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินการหรือสนับสนุนเพื่อการพัฒนาสตรีในพื้นที่
- 1) แผนงาน/โครงการกิจกรรมของ อปท.
- 2) ภาพถ่ายกิจกรรม
- 3) กิจกรรมที่ อปท. จัดหรือสนับสนุนการจัด อาจใช้จ่ายจากเงินอุดหนุนที่รัฐจัดสรรให้ หรือใช้งบประมาณจากหน่วยงานอื่น (อปท. ต้องเป็นผู้ดำเนินการหรือมีส่วนร่วมในโครงการ)
- 4) ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ฯ
- 5) หนังสือขอความร่วมมือจากหน่วยงานที่จัดกิจกรรม
- 6) หนังสือประสานขอความร่วมมือจากหน่วยงานอื่น
- 7) รายงานผลการดำเนินการ
- 2.3.2 จำนวนกิจกรรมที่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินการหรือสนับสนุนเพื่อส่งเสริมความรักและความอบอุ่นในครอบครัว
- 1) แผนงาน/โครงการกิจกรรมแต่ละประเภท
- 2) ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายฯ
- 3) ภาพถ่าย
- 4) หนังสือขอความร่วมมือจากหน่วยงาน ที่จัดกิจกรรม
- 5) หนังสือประสานขอความร่วมมือจากหน่วยงานอื่น
- 6) รายงานผลการดำเนินการ
- หมวดย่อยที่ 4 การส่งเสริมและพัฒนาคนพิการและผู้ด้อยโอกาส/คนไร้ที่พึ่ง
- 2.4.1 จำนวนกิจกรรมที่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินการเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต คนพิการ นอกเหนือจากการจ่ายเบี้ยความพิการ
- 1) ฐานข้อมูลคนพิการ
- 2) เอกสารประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ เช่นวิทยุชุมชน แผ่นพับ หอกระจายข่าว เว็บไซต์ ฯลฯ
- 3) แผนงาน/โครงการ
- 4) ภาพถ่ายกิจกรรม
- 5) ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายฯ
- 6) สำเนาโครงการ
- 7) ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจำปี 2561
- 8) รายงานผลการดำเนินการ
- 2.4.2 จำนวนครั้งที่เทศบาล และ อบต. สามารถดำเนินการจ่ายเบี้ยความพิการได้ครบถ้วนถูกต้องตามประกาศเทศบาล/อบต. เรื่องบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิรับเงินเบี้ยความพิการของเทศบาล/อบต. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ภายในวันที่ ๑๐ ของทุกเดือน
- 1) หลักฐานการจ่ายเงินเบี้ยความพิการ ภายในวันที่ 10 ของทุกเดือน ตามระเบียบ มท. ว่าด้วยหลักเกณฑ์การจ่ายเงินเบี้ยความพิการ ให้คนพิการของ อปท. พ.ศ. 2553
- 2) ฎีกาการเบิกจ่ายเงิน
- 3) การโอนเข้าบัญชีธนาคาร
- 4) หลักฐานการจ่ายเงิน/รับเงิน
- 5) การบันทึกข้อมูลในระบบสารสนเทศการจัดการฐานข้อมูลเบี้ยยังชีพของ อปท.
- 2.4.3 จำนวนกิจกรรมที่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินการเพื่อพัฒนาผู้ด้อยโอกาส/คนไร้ที่พึ่ง (ยกเว้นคนเร่ร่อนและขอทาน)
- 1) ข้อมูลผู้ด้อยโอกาส/คนไร้ที่พึ่งจากสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด
- 2) ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายฯ
- 3) แผนงาน/โครงการ
- 4) ภาพถ่ายกิจกรรม
- 5) ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจำปี 2561
- 6) หนังสือขอความร่วมมือจากหน่วยงานที่จัดกิจกรรม
- 7) รายงานผลการดำเนินการ
- หมวดย่อยที่ 5 ด้านการส่งเสริมผู้สูงอายุ
- 2.5.1 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้จัดทำกิจกรรมตามมาตรฐานการสงเคราะห์ผู้สูงอายุตามองค์ประกอบ 5 ด้าน
- 1) ฐานข้อมูลผู้สูงอายุ
- 2) ภาพถ่ายกิจกรรม/โครงการ
- 3) กิจกรรมที่ อปท. จัดหรือสนับสนุนการจัดอาจใช้จ่ายจากเงินอุดหนุนที่รัฐจัดสรรให้
- 4) ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายฯ
- 6) ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจำปี 2561
- 7) หนังสือขอความร่วมมือจากหน่วยงานที่จัดกิจกรรม
- 8) รายงานผลการดำเนินการ
- 2.5.2 การจัดทำฐานข้อมูลผู้สูงอายุในเขตเทศบาล/อบต.
- 1) เอกสารหลักฐานการสำรวจฐานข้อมูลผู้สูงอายุ
- 2) เอกสารรายงานฐานข้อมูลผู้สูงอายุ
- 3) บันทึกตามระยะเวลาที่กำหนด
- 2.5.3 จำนวนครั้งที่เทศบาล และอบต. สามารถดำเนินการจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุได้ครบถ้วนถูกต้องตามประกาศเทศบาล/อบต. เรื่อง บัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิรับเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุของเทศบาล/ อบต. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561 ภายในวันที่ 10 ของเดือน
- 1) หลักฐานการจ่ายเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ ภายในวันที่ 10 ของ ทุกเดือน ตามระเบียบ มท. ว่าด้วยหลักเกณฑ์การจ่ายเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุของ อปท. พ.ศ. 2552
- 2) ฎีกาการเบิกจ่ายเงินในแต่ละเดือน
- 3) หลักฐานการโอนเข้าบัญชีธนาคาร
- 4) หลักฐานการจ่ายเงิน/รับเงิน
- 5) การบันทึกข้อมูลในระบบสารสนเทศ การจัดการฐานข้อมูลเบี้ยยังชีพของ อปท.
- 2.5.4 ร้อยละความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มีต่อระบบการเบิกจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ (ระบบการโอนเงินเข้าบัญชี)
- 1) มีแบบสำรวจความพึงพอใจ
- 2) มีการวิเคราะห์ข้อมูล
- 3) มีการสรุปผลเสนอผู้บริหาร อปท.
- หมวดย่อยที่ 6 ด้านการพัฒนาเด็กและเยาวชน
- 2.6.1 จำนวนกิจกรรมที่ อปท. ดำเนินการ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการของเด็กและเยาวชน ให้เหมาะสมตามวัย (สำหรับกิจกรรมที่ใช้งบประมาณของ อปท.)
- 1) แผนงาน/โครงการกิจกรรม แต่ละประเภท
- 2) ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายฯ
- 3) ภาพถ่ายกิจกรรม
- 4) ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจำปี 2561
- 5) หนังสือแจ้งขอความร่วมมือกรณีได้รับการประสานจากหน่วยงานอื่น กรณีไม่ใช้งบประมาณของ อปท.
- 6) รายงานผลการดำเนินการ
- 2.6.2 ร้อยละของเด็กอายุ 2 – 5 ปี ในเขต อปท. ที่ได้รับการเตรียมความพร้อมก่อนเข้ารับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
- 1) ข้อมูลเด็กอายุ 2-5 ปี ในเขต อปท.
- 2) ทะเบียนราษฎร์
- 3) ข้อมูลแจกแจงสถานที่ที่เด็กได้รับการเตรียมความพร้อม
- 4) ข้อมูล จปฐ.
- 5) ข้อมูลของกรมอนามัย
- 6) ข้อมูลจากผู้นำชุมชน ประชาคม
- 7) แผนงานโครงการของ อปท.
- 8) ภาพถ่าย
- 9) เทศบัญญัติ/ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายฯ
- 10) ฎีกาเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจำปี 2561
- หมวดย่อยที่ 7 ด้านการส่งเสริมกีฬา
- 2.7.1 จำนวนลานกีฬา/สนามกีฬา ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินการจัดให้มี เพื่อให้ประชาชนได้ใช้ในการแข่งขันกีฬา หรือออกกำลังกาย (ทั้งที่ใช้และ ไม่ใช้งบประมาณของ อปท. หรือใช้งบประมาณของหน่วยงานอื่น)
- 1) ข้อมูลลานกีฬา/สนามกีฬา
- 2) ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายฯ
- 3) ภาพถ่ายโครงการ
- 2.7.2 ร้อยละของลานกีฬา/สนามกีฬาที่ประชาชนสามารถใช้เล่นกีฬาและนันทนาการในเวลากลางคืน (สามารถใช้งานได้)
- 1) ข้อมูลลานกีฬา/สนามกีฬา
- 2) ภาพถ่ายลานกีฬา/สนามกีฬาในเวลากลางคืน/กลางวัน
- 3) สอบถามผู้นำหมู่บ้าน/ชุมชน
- 4) ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายฯ
- 5) ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจำปี 2561
- 6) หนังสือยืนยันจากผู้นำชุมชน/ประชาชน/กำนัน/ผู้ใหญ่บ้าน
- 2.7.3 จำนวนกิจกรรมหลักเพื่อการส่งเสริมกีฬาของ อปท.
- 1) ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายฯ
- 2) ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจำปี 2561
- 3) คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการด้านการส่งเสริมกีฬา
- 4) บัญชีรายชื่อชมรม/สโมสรการออกกำลังกายหรือการเล่นกีฬา
- 5) ข้อมูลลานกีฬา/สนามกีฬา
- 6) ภาพถ่ายต่าง ๆ เช่น สนามกีฬา/ลานกีฬา การเล่นกีฬา/การออกกำลังกายในเวลากลางวันและกลางคืน การแข่งขันกีฬา เป็นต้น
- 7) บัญชีอุปกรณ์กีฬา/อุปกรณ์การออกกำลังกาย
- หมวดที่ 3 การวางแผนการสํงเสริมการลงทุนพาณิชยกรรมและการท่องเที่ยว
- หมวดย่อยที่ 1 การส่งเสริมอาชีพ
- 3.1.1 จำนวนประเภทอาชีพที่จัดให้มีการฝึกอบรมแก่ประชาชน
- 1) ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายฯ
- 2) โครงการที่ อปท. จัดหรือสนับสนุนการจัด อาจใช้จ่ายจากเงินอุดหนุนที่รัฐจัดสรรให้
- 3) ภาพถ่ายกิจกรรม
- 4) หนังสือขอความร่วมมือจากหน่วยงานที่จัดกิจกรรม
- 5) หนังสือประสานขอความร่วมมือ
- 3.1.2 จำนวนกิจกรรมที่ส่งเสริมการประกอบอาชีพ นอกเหนือจากการฝึกอบรม
- 1) ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายฯ
- 2) แผนงาน/โครงการ
- 3) ภาพถ่ายกิจกรรม
- 4) ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจำปี 2561
- 5) หนังสือขอความร่วมมือจากหน่วยงานอื่น
- หมวดย่อยที่ 2 การส่งเสริมการท่องเที่ยว
- 3.2.1 การจัดทำแผนการส่งเสริมการท่องเที่ยว
- 1) แผนการส่งเสริมการท่องเที่ยว
- 2) รายงานผลการดำเนินการตามแผนฯ
- 3) ช่องทางการประชาสัมพันธ์
- 3.2.2 จำนวนกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว
- 1) ศูนย์ข้อมูลสำหรับนักท่องเที่ยว
- 2) แผนส่งเสริมการท่องเที่ยว
- 3) หลักฐานการประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ เช่น เว็บไซต์ของ อปท.
- 4) ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายฯ
- 5) รายงานประจำปี
- 6) ภาพถ่ายกิจกรรม
- 7) ผลการสำรวจข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว
- หมวดย่อยที่ 3 การส่งเสริมกิจการตลาด
- 3.3.1 การกำหนดหลักเกณฑ์/ข้อกำหนดในการกำกับดูแลการดำเนินกิจการตลาด
- 1) ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ หรือประกาศของ อปท. ที่แสดงให้เห็นถึงการกำหนดแนวทาง/หลักเกณฑ์ฯ
- 2) ช่องทางการประชาสัมพันธ์
- 3) รายงานผลการดำเนินการ
- 3.3.2 การสำรวจและตรวจสภาพตลาด
- 1) แนวทางในการติดตามและตรวจสภาพตลาด
- 2) รายงานผลการดำเนินการต่อผู้บริหาร
- 3.3.3 การจัดทำฐานข้อมูล
- 3.3.4 จำนวนกิจกรรมในการส่งเสริมการดำเนินการของกิจการตลาด
- 1) แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
- 2) ภาพถ่าย
- 3) หนังสือเชิญเข้าร่วมกิจกรรม
- 4) ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจำปี ๒๕61
- 5) กรณีร่วมกับหน่วยงานอื่นให้ดูเอกสารที่เกี่ยวข้อง
- หมวดที่ 4 การสํงเสริมศิลปะวัฒนธรรมประเพณี ศาสนา และภูมิปัญญาท้องถิ่น
- หมวดย่อยที่ 1 การส่งเสริมศิลปะ วัฒนธรรม และศาสนา
- 4.1.1 จำนวนกิจกรรมที่ อปท.ดำเนินการเพื่อส่งเสริมศิลปะ วัฒนธรรม และศาสนา
- 1) แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
- 2) ภาพถ่าย
- 3) บัญชีลงลายมือชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม
- 4) หนังสือเชิญเข้าร่วมกิจกรรม
- 5) ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจำปี 2560
- 6) กรณีร่วมกับหน่วยงานอื่นให้ดูเอกสารที่เกี่ยวข้อง
- 7) รายงานผลการดำเนินการ
- หมวดย่อยที่ 2 ภูมิปัญญาท้องถิ่น
- 4.2.1 การจัดทำฐานข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น
- 1) ฐานข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น
- 2) แผนงาน/โครงการในการจัดทำฐานข้อมูล
- 3) ช่องทางการประชาสัมพันธ์
- 4.2.2 จำนวนกิจกรรมเพื่อการอนุรักษ์และส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น
- 1) แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
- 2) ภาพถ่าย
- 3) บัญชีลงลายมือชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม
- 4) หนังสือเชิญเข้าร่วมกิจกรรม
- 5) ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจำปี 2561
- 6) กรณีร่วมกับหน่วยงานอื่นให้ดูเอกสารที่เกี่ยวข้อง
- 7) รายงานผลการดำเนินการ
- หมวดที่ 5 การจัดระเบียบชุมชน และรักษาความสงบเรียบร้อย
- หมวดย่อยที่ 1 การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
- กลุ่มที่ 1 สาธารณภัย
- 5.1.1.1 การจัดทำและดำเนินงานตามแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของ อปท.
- 1) แผนงาน/โครงการในการจัดทำแผนฯ
- 2) ฐานข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัยที่เคยเกิด และ ภัยที่เกิดซ้ำในพื้นที่
- 3) แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของ อปท.
- 4) แผนงาน / โครงการ / กิจกรรมในการดำเนินการตามแผนฯ
- 5) เอกสารหลักฐานการตรวจสอบอุปกรณ์ป้องกันภัย
- 6) ภาพถ่าย
- 7) ระบบการแจ้งเตือนสามารถใช้งานได้
- 8) รายงานผลการดำเนินการ
- 5.1.1.2 จำนวนกิจกรรมเพื่อส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับสาธารณภัยและป้องกันภัยแก่ประชาชน
- 1) ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ฯ
- 2) แผนงาน/โครงการ
- 3) หนังสือแจ้งเข้าร่วมกิจกรรม
- 4) บัญชีลงลายมือชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม
- 5) ภาพถ่าย
- 6) การเผยแพร่ทางสื่อต่าง ๆ เช่น เว็บไซต์ แผ่นพับ เป็นต้น
- 7) รายงานผลการดำเนินการ
- 5.1.1.3 จำนวนกิจกรรมเพื่อส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับสาธารณภัยและป้องกันภัยแก่เจ้าหน้าที่ป้องกันบรรเทาสาธารณภัย หรืออาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน
- 1) แผนงาน/โครงการ
- 2) ภาพถ่าย
- 3) บัญชีลงลายมือชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม
- 4) หนังสือแจ้งเข้าร่วมกิจกรรม
- 5) ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจำปี 2561
- 6) กรณีร่วมกับหน่วยงานอื่นให้ดูเอกสารที่เกี่ยวข้อง
- 7) รายงานผลการดำเนินการ
- 5.1.1.4 จำนวนกิจกรรมที่ดำเนินการเพื่อป้องกันและดูแลความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน
- 1) แผนงาน/โครงการ การป้องกันและดูแลความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน
- 2) ภาพถ่ายกิจกรรม
- 3) รายงานผลการดำเนินการด้านการป้องกันและดูแลความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน
- 4) หลักฐานการร่วมงานกับหน่วยงานอื่น
- 5) สถิติเรื่องร้องเรียน
- 5.1.1.5 จำนวนกิจกรรมที่ดำเนินการเพื่อป้องกันและลดความเสี่ยงการเกิดอัคคีภัย นอกเหนือไปจากการให้ความรู้
- 1) ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายฯ
- 2) แผนงาน/โครงการ
- 3) หนังสือแจ้งเข้าร่วมกิจกรรม
- 4) บัญชีลงลายมือชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม
- 5) ภาพถ่าย
- 6) กรณีร่วมกับหน่วยงานอื่นให้ดูเอกสารที่เกี่ยวข้อง
- 7) ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจำปี 2561
- 8) รายงานผลการดำเนินการ
- 5.1.1.6 จำนวนกิจกรรมที่ดำเนินการเพื่อ ป้องกันภัยทางถนนแก่ประชาชนนอกเหนือจากการให้ความรู้
- 1) ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายฯ
- 2) แผนงาน/โครงการ
- 3) หนังสือแจ้งเข้าร่วมกิจกรรม
- 4) บัญชีลงลายมือชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม
- 5) ภาพถ่าย
- 6) กรณีร่วมกับหน่วยงานอื่นให้ดูเอกสารที่เกี่ยวข้อง
- 7) ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจำปี ๒๕61
- 8) รายงานผลการดำเนินการ
- 5.1.1.7 จำนวนกิจกรรมหลักเพื่อแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควันในพื้นที่ (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561)
- 1) แผนพัฒนาท้องถิ่น 3 ปี
- 2) ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
- 3) แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
- 4) ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจำปี 2561
- 5) ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม
- 6) หนังสือขอความร่วมมือจากหน่วยงานอื่น ๆ
- หมวดย่อยที่ 2 การส่งเสริมประชาธิปไตยในชุมชน
- 5.2.1 จำนวนกิจกรรมเพื่อการส่งเสริมประชาธิปไตยในชุมชน
- 1) ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายฯ
- 2) แผนงาน/โครงการ
- 3) หนังสือแจ้งเข้าร่วมกิจกรรม
- 4) บัญชีลงลายมือชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม
- 5) ภาพถ่าย
- 6) กรณีร่วมกับหน่วยงานอื่นให้ดูเอกสารที่เกี่ยวข้อง
- 7) ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจำปี ๒๕61
- หมวดย่อยที่ 3 การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
- 5.3.1 จำนวนกิจกรรมที่ อปท. ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่
- 1) ข้อมูลการประสานหน่วยงานอื่น เช่น ที่ทำการปกครองอำเภอ/ จังหวัด สาธารณสุขอำเภอ/จังหวัด สถานีตำรวจในพื้นที่ ฯลฯ
- 2) สื่อประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ เช่น ป้าย แผ่นพับ วิทยุชุมชน หอกระจายข่าว เว็บไซต์ ภาพถ่าย วารสาร แผ่นพับ ใบปลิว จดหมายข่าว ฯลฯ
- 3) ภาพถ่ายกิจกรรม
- 4) แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่แสดงถึงการส่งเสริมบำบัดฟื้นฟูผู้ติด/ผู้เสพยา หรือ การฝึกอบรมฯ
- หมวดที่ 6 การบริหารจัดการ และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม
- หมวดย่อยที่ 1 ทรัพยากรธรรมชาติ
- 6.1.1 จำนวนกิจกรรมเพื่อให้ความรู้ประชาชนในการรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
- 1) ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายฯ
- 2) ข้อตกลงความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อม
- 2) จนท. ผู้รับผิดชอบฯ เปิดข้อมูลจากรหัสผู้ใช้งานและรหัสผ่านของ อปท.นั้น ๆ
- 3) แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
- 4) ภาพถ่าย
- 5) บัญชีลงลายมือชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม
- 6) หนังสือแจ้งเข้าร่วมกิจกรรม
- 7) ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจำปี 2561
- 8) หนังสือขอความร่วมมือจากหน่วยงานอื่น
- 6.1.3 การกำจัดผักตบชวาและวัชพืชในแหล่งน้ำสาธารณะ
- 1) ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย
- 2) แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
- 3) ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจำปี 2561
- 4) ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม
- 5) หนังสือขอความร่วมมือจากหน่วยงานอื่น
- 6) หนังสือขอรับการสนับสนุนจากหน่วยงานอื่น
- 7) หนังสือรายงานผลการดำเนินการ(ทั้งกรณีที่มีปัญหาและไม่มีปัญหา)
- 8) แบบรายงานแผน/ผลการปฏิบัติงานกำจัดผักตบชวาและวัชพืชในแหล่งน้ำสาธารณะ
- หมวดย่อยที่ 2 น้ำเสีย
- 6.2.1 เทศบาล ออกเทศบัญญัติควบคุมให้อาคาร หมู่บ้านจัดสรร บ้านเรือน ที่พักอาศัย ติดตั้งบ่อดักไขมันและระบบน้ำเสียเฉพาะพื้นที่ หรือระบบบำบัดน้ำเสียชุมชน
- 6.2.2 อปท. จัดทำฐานข้อมูลสภาพปัญหาน้ำเสียในพื้นที่
- 1) บันทึก/รายงานผลการสำรวจสภาพปัญหาน้ำเสียในพื้นที่
- 2) แบบบันทึกข้อมูล หรือรายงานด้านน้ำเสียตามมาตรา 80 พ.ร.บ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535
- 3) ช่องทางการเผยแพร่ผลการดำเนินงาน
- 6.2.3 จำนวนกิจกรรมส่งเสริมความรู้แก่ประชาชน เกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำในชุมชน การใช้น้ำอย่างประหยัด และการจัดการน้ำเสียในชุมชน
- 1) ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายฯ
- 2) แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
- 3) ภาพถ่าย
- 4) กิจกรรมที่ อปท. จัด หรือสนับสนุนการจัด
- 5) บัญชีลงลายมือชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม
- 6) หนังสือแจ้งเข้าร่วมกิจกรรม
- 7) ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจำปี 2561
- 8) หนังสือขอความร่วมมือจากหน่วยงานอื่น
- 9) รายงานผลการดำเนินการ
- 6.2.4 จำนวนกิจกรรมเพื่อดำเนินการฟื้นฟูและบำบัดน้ำเสียครัวเรือนอย่างต่อเนื่อง โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน นอกเหนือไปจากการให้ความรู้
- 1) ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายฯ
- 2) แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
- 3) ภาพถ่าย
- 4) บัญชีลงลายมือชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม
- 5) หนังสือแจ้งเข้าร่วมกิจกรรม
- 6) ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจำปี 2561
- 7) หนังสือขอความร่วมมือจากหน่วยงานอื่น
- 8) รายงานผลการดำเนินการ
- หมวดย่อยที่ 3 ขยะ
- 6.3.1 เทศบัญญัติ/ข้อบัญญัติท้องถิ่น และ แผนงาน/แผนปฏิบัติราชการ/แผนยุทธศาสตร์เกี่ยวกับการบริหารจัดการขยะมูลฝอย
- 1) เทศบัญญัติ/ข้อบัญญัติท้องถิ่น
- 2)แผนงาน/แผนปฏิบัติราชการ/แผนยุทธศาสตร์เกี่ยวกับการบริหารจัดการขยะมูลฝอย
- 6.3.2 จำนวนกิจกรรม/โครงการเกี่ยวกับการลดและการคัดแยกขยะมูลฝอยจากต้นทางตามหลักการ 3Rs (Reduce, Reuse, Recycle) ที่ดำเนินการเพื่อให้ความรู้แก่ประชาชน
- 1) ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายฯ
- 2) แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
- 3) ภาพถ่าย
- 4) บัญชีลงลายมือชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม
- 5) หนังสือแจ้งเข้าร่วมกิจกรรม
- 6) ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจำปี 2561
- 7) รายงานผลการดำเนินการ
- 6.3.3 จำนวนกิจกรรม/โครงการเพื่อดำเนินการลดและการคัดแยกขยะมูลฝอยจากต้นทางตามหลักการ 3Rs (Reduce, Reuse, Recycle) นอกเหนือไปจากการให้ความรู้แก่ประชาชน
- 1) ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายฯ
- 2) แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
- 3) ภาพถ่าย
- 4) บัญชีลงลายมือชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม
- 5) หนังสือแจ้งเข้าร่วมกิจกรรม
- 6) ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจำปี 2561
- 7) รายงานผลการดำเนินการ
- 6.3.4 การจัดตั้งกลุ่ม/ เครือข่ายอาสาสมัคร เพื่อขับเคลื่อนการจัดการเรื่องขยะมูลฝอย
- 1) เอกสารแสดงหลักฐานการจัดตั้งกลุ่ม/เครือข่าย
- 2) รายงานผลการดำเนินงานของกลุ่ม/เครือข่าย
- 6.3.5 การจัดทำฐานข้อมูลการบริหารจัดการ
- 1) ฐานข้อมูลขยะมูลฝอยที่เป็นปัจจุบัน
- 2) ตรวจสอบข้อมูลจากระบบสารสนเทศ มฝ.1 มฝ.2 ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
- 6.3.6 ทุกหมู่บ้าน/ชุมชน มีจุดรวมขยะอันตรายชุมชน เมื่อคำนวณเปรียบเทียบกับ ร้อยละจำนวนหมู่บ้าน/ชุมชนในพื้นที่ อปท.
- 1) รายงานข้อมูลจุดรวมขยะอันตรายชุมชน
- 2) ภาพถ่าย
- 6.3.7 หมู่บ้าน/ชุมชน ที่สามารถเป็น หมู่บ้าน/ชุมชนต้นแบบด้านการบริหารจัดการขยะ มูลฝอยในเขตพื้นที่ อปท.
- 1) ข้อมูลหมู่บ้าน/ชุมชนต้นแบบภายในอปท. เทียบกับ จำนวนหมู่บ้าน/ชุมชนทั้งหมดภายใน อปท.
- 6.3.8 การดำเนินการรักษาความสะอาดในพื้นที่สาธารณะ
- 1) แผนการดำเนินการรักษาความสะอาด
- 2) รายงานผลการดำเนินการตามแผนฯ
- 3) ภาพถ่าย
- 6.3.9 จำนวนแหล่งเรียนรู้ด้านการจัดการ ขยะมูลฝอยในพื้นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- 1) รายงานผลการดำเนินงานของแหล่งเรียนรู้
- 2) จำนวนผู้เข้าไปใช้ประโยชน์ในแหล่งเรียนรู้
- 3) ภาพถ่าย
- หมวดย่อยที่ 4 สิ่งแวดล้อมยั่งยืน
- 6.4.1 จำนวนกิจกรรมที่ อปท.ดำเนินการเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์ พัฒนา และเพิ่มพื้นที่สีเขียว
- 1) แผนงาน/โครงการ
- 2) รายงานผลการดำเนินงานตามแผนฯ
- 3) ภาพถ่ายกิจกรรม
- 4) รายงานประจำปี
- 5) กรณีร่วมกับหน่วยงานอื่นให้ดูเอกสารที่เกี่ยวข้อง
- 6) หนังสือแจ้งเข้าร่วมกิจกรรม
- 7) บัญชีลงลายมือชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม
- 8) ช่องทางการสื่อสาร เผยแพร่ประชาสัมพันธ์
- 9) สื่อประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ
- 6.4.2 จำนวนกิจกรรมที่ อปท.ดำเนินการ เพื่อการจัดการคุณภาพอากาศ
- 1) แผนงาน/โครงการ
- 2) รายงานผลการดำเนินงาน
- 3) ภาพถ่ายกิจกรรม
- 4) รายงานประจำปี
- 5) กรณีร่วมกับหน่วยงานอื่นให้ดูเอกสารที่เกี่ยวข้อง
- 6) หนังสือแจ้งเข้าร่วมกิจกรรม
- 7) บัญชีลงลายมือชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม
- 8) ช่องทางการสื่อสาร เผยแพร่ประชาสัมพันธ์
- 9) สื่อประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ
- 6.4.3 จำนวนกิจกรรมที่ อปท.ดำเนินการเพื่อส่งเสริมการผลิต การบริโภค และการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
- 1) แผนงาน/โครงการ
- 2) รายงานผลการดำเนินงานตามแผนฯ
- 3) ภาพถ่ายกิจกรรม
- 4) กรณีร่วมกับหน่วยงานอื่นให้ดูเอกสารที่เกี่ยวข้อง
- 5) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม
- 6) หนังสือเชิญเข้าร่วมกิจกรรม
- 7) ช่องทางการสื่อสาร เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์
- 8) งบประมาณในการจัดซื้อจัดจ้างสีเขียว
- 9) จำนวนครั้งหรือร้อยละในการใช้บริการจ้างเหมาที่ได้รับการรับรองมาตรฐานสิ่งแวดล้อม
- 10) จำนวนการจัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการที่ผลิตในพื้นที่
- 11) หลักฐานแสดงการรับรองมาตรฐานสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ
- 6.4.4 จำนวนกิจกรรมที่ อปท.ดำเนินการเพื่อการส่งเสริมการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ
- 1) แผนงาน/โครงการ
- 2) รายงานผลการดำเนินงานตามแผนฯ
- 3) ภาพถ่ายกิจกรรม
- 4) รายงานประจำปี
- 5) กรณีร่วมกับหน่วยงานอื่นให้ดูเอกสารที่เกี่ยวข้อง
- 6) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม/จำนวนผู้ใช้ประโยชน์
- 7) ช่องทางการสื่อสาร เผยแพร่ประชาสัมพันธ์
- 8) สื่อประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ
- 9) รายงานข้อมูลแสดงแนวโน้มการประหยัดไฟฟ้า น้ำมันเชื้อเพลิง (ย้อนหลัง) ในพื้นที่ อปท.และสำนักงาน อปท.
- 10) จำนวนสถานประกอบการที่เข้าร่วมกิจกรรมลดการใช้พลังงานหรือเปลี่ยนมาใช้พลังงานทดแทน
- 11) งบประมาณค่าใช้จ่ายด้านไฟฟ้าและน้ำมันเชื้อเพลิง (ย้อนหลัง) ในสำนักงาน อปท.
- 12) จำนวนแหล่งเรียนรู้ด้านการอนุรักษ์พลังงาน
- หมวดย่อยที่ 5 ก๊าซเรือนกระจก
- 6.5.1 แผนการดำเนินงาน/นโยบาย เกี่ยวกับการบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก
- 1) แผนการดำเนินงาน/นโยบาย เกี่ยวกับการบริหารการจัดก๊าซเรือนกระจก
- 2) แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
- 6.5.2 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการจัดทำรายงานข้อมูลปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในพื้นที่
- 1) รายงานข้อมูลปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในพื้นที่ ตามคู่มือการจัดทำข้อมูลก๊าซเรือนกระจกขององค์การบริหารจัดการก๊าซกระจก (องค์การมหาชน)
- 2) ช่องทางการเผยแพร่ผลการดำเนินการ
- ด้านที่ 5 ธรรมาภิบาล
- หน่วยที่ 1 การบริหารราชการเพื่อป้องกันการทุจริต
- 180 องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นมีการจัดทำแผน/แนวทางเพื่อการป้องกันและปราบปรามการทุจริตหรือการส่งเสริมความโปร่งใสตามหลักธรรมาภิบาลในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- 1. มีการจัดทำแผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต (พ.ศ. 2560-2564)
- 2. มีรายงานผลการประเมินตนเอง (Self Assessment Report: SAR)
- 3. มีการประกาศให้ประชาชนได้ทราบถึงแผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต (พ.ศ. 2560-2564) และเผยแพร่บนเว็บไซต์หลักขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- 4. มีการกำหนดตัวชี้วัดการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
- 5. มีการดำเนินการจริงที่เป็นรูปธรรม อย่างน้อย 5 ตัวชี้วัด
- 181 กิจกรรมการบริหารราชการเพื่อป้องกันการทุจริตขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- 1. มีกิจกรรมและสนับสนุน หรือยกย่องบุคคลต้นแบบด้านคุณธรรม จริยธรรมในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- 2. กิจกรรมและสนับสนุน หรือยกย่องบุคคลต้นแบบด้านคุณธรรม จริยธรรมภายนอกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- 3. สนับสนุนหน่วยงานอื่นในการยกย่องบุคคลต้นแบบด้านคุณธรรม จริยธรรม
- 4. มีการแสดงเจตจำนงทางการเมืองในการต่อต้านการทุจริตของผู้บริหาร
- 5. มาตรการการใช้ดุลยพินิจและใช้อำนาจหน้าที่ให้เป็นไปตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
- 6. มีการเชิดชูเกียรติแก่หน่วยงาน/บุคคลในการดำเนินกิจการการประพฤติปฏิบัติตนให้เป็นที่ประจักษ์
- 7. มีมาตรการจัดการในกรณีได้ทราบหรือรับแจ้ง หรือตรวจสอบพบการทุจริต
- 8. มีการเผยแพร่กิจกรรมการบริหารราชการเพื่อป้องกันการทุจริตขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทางเว็บไซต์หลักขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- 182 การจัดทำมาตรฐานคุณธรรมและจริยธรรมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- 1. จัดทำประกาศหลักเกณฑ์เกี่ยวกับคุณธรรมและจริยธรรมของหน่วยงาน
- 2. มีการนำประกาศหลักเกณฑ์เกี่ยวกับคุณธรรมและจริยธรรม มาใช้บังคับกับข้าราชการ/พนักงานเทศบาล/พนักงานส่วนตำบล/ลูกจ้างประจำ และพนักงานจ้าง
- 3. ข้าราชการ/พนักงานเทศบาล/พนักงานส่วนตำบล/ลูกจ้างประจำและพนักงานจ้าง ลงนามรับทราบทุกคน ตามประกาศหรือนโยบายคุณธรรมและจริยธรรม
- 4. จัดทำแนวทางการปฏิบัติงานตามประกาศคุณธรรมและจริยธรรม
- 5. มีจัดทำประกาศหลักเกณฑ์เกี่ยวกับข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการและข้าราชการ/พนักงานเทศบาล/พนักงานส่วนตำบล/ลูกจ้างประจำ และพนักงานจ้าง ลงนามรับทราบทุกคน
- 6. มีการขับเคลื่อนโดยกำหนดให้มีโครงการหรือกิจกรรมที่ดำเนินการคุณธรรมและจริยธรรมจริง อย่างน้อย 3 โครงการ หรือ 3 กิจกรรมและแสดงผลการดำเนินงานดังกล่าวให้สาธารณชนรับทราบทางเว็บไซต์หลักขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- 183 การส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรม รวมถึงการป้องกันการกระทำผิดจริยธรรม
- 1. มีการประกาศเจตนารมณ์การป้องกันและต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น
- 2. มีแผนการเสริมสร้างวินัยคุณธรรม จริยธรรม แและป้องกันการทุจริต
- 3. มีการเข้าร่วมโครงการหรือกิจกรรมการป้องกันการทุจริตของอำเภอ/จังหวัด
- 4. มีการเข้าร่วมโครงการหรือกิจกรรมป้องกันการทุจริตของหน่วยงานราชการ (มิใช่อำเภอ/จังหวัด) รัฐวิสาหกิจ มหาวิทยาลัย วิทยาลัย โรงเรียน องค์การมหาชน สมาคม มูลนิธิ องค์กรภาคประชาสังคม
- 5. มีการเข้าร่วมโครงการป้องกันการทุจริตของ ป.ป.ช. ป.ป.ท. หรือสถาบันพระปกเกล้า
- 6. มีกาจัดทำรายงานผลด้านการส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรมที่ผู้บริหารท้องถิ่นรับทราบ
- 7. มีการประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินการด้านส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรม
- 184 การเสริมสร้างและพัฒนาให้ข้าราชการรักษาวินัย
- 1. การจัดทำป้าย/แผ่นพับ หรือรูปแบบการประชาสัมพันธ์อื่น ๆ
- 2. การจัดทำและเผยแพร่ประมวลจริยธรรมให้ข้าราชการทราบและถือปฏิบัติ
- 3. การอบรมหรือฝึกอบรมเพื่อสนับสนุนส่งเสริมให้ข้าราชการปฏิบัติตามระเบียบแบบแผนหรือวินัยของข้าราชการ
- 4. การจัดกิจกรรมที่เป็นการเสริมสร้างและพัฒนาทัศนคติ จิตสำนึกและพฤติกรรมของข้าราชการให้ไปในทางที่มีวินัย
- 5. ในรอบปี ไม่มีข้าราชการถูกดำเนินการทางวินัย
- หน่วยที่ 2 การส่งเสริมบทบาทและการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
- 185 การส่งเสริมบทบาทและการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน (Participation)
- 1. มีการแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบที่เป็นปัจจุบันในศูนย์ข้อมูลข่าวสารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- 2. จัดให้มีและเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารในช่องทางที่เป็นการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนได้มีส่วนร่วมตรวจสอบการปฏิบัติราชการตามอำนาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ทุกขั้นตอน
- 3. มีการรับฟังความคิดเห็น การรับและตอบสนอเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์ของประชาชน
- 4. มีการส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมบริหารกิจการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- 5. มีการเก็บสถิติผู้มารับบริการศูนย์ข้อมูลข่าวสาร และสรุปผลเสนอผู้บริหารท้องถิ่น
- 186 การเสริมสร้างและปรับปรุงกลไกในการตรวจสอบการปฏฺิบัติราชการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- 1. มีการจัดวางระบบและรายงานการควบคุมภายในตามที่คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินกำหนด
- 2. มีการสนับสนุนให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมตรวจสอบการปฏิบัติหรือการบริหารราชการตามช่องทางที่สามารถดำเนินการได้
- 3. มีการส่งเสริมบทบาทการตรวจสอบของสภาท้องถิ่น
- 4. เสริมพลังการมีส่วนร่วมของชุมชน (Community) และบูรณาการทุกภาคส่วนเพื่อต่อต้านการทุจริต
- 5. เปิดเผยข้อมูลของบุคคลและหน่วยงานตามตัวชี้วัดที่ 9 ITA ครบถ้วนทุกตัวชี้วัดย่อย
- หน่วยที่ 3 การมีระบบ และกลไกจัดการรับเรื่องร้องเรียน
- 187 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีระบบและกลไกจัดการกับเรื่องร้องเรียน
- 1 มีการกำหนดหน่วยงานหรือมอบหมายผู้รับผิดชอบโดยตรงในการดำเนินการต่อเรื่องร้องเรียน และแนวปฏิบัติจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตเผยแพร่ทางเว็บไซต์หลักขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- 2. มีการส่งเรื่องร้องเรียนให้ผู้รับผิดชอบดำเนินการ
- 3. มีบัญชีเรื่องร้องเรียนและลงรายละเอียดในบัญชีครบ
- 4. ปัญหาการทุจริตในหน่วยงานของท่านได้รับการแก้ไข
- 5. มีการแจ้งผลการดำเนินการให้ผู้ร้องเรียนทราบ ทั้งดำเนินการและไม่ดำเนินการแก้ไขข้อร้องเรียน
- 6. มีการดำเนินการหรือมีกิจกกรม ดังต่อไปนี้ต่อการทุจริตในหน่วยงาน เช่น เฝ้าระวังการทุจริต ตรวจสอบการทุจริต ลงโทษทางวินัย
- 7. มีการนำผลการตรวจสอบของฝ่ายตรวจสอบทั้งภายใน ภายนอก ไปปรับปรุงการทำงานเพื่อป้องกันการทุจริตในหน่วยงาน
- 188 มาตรการภายในเพื่อส่งเสริมความโปร่งใสและป้องกันการทุจริตขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- 1. มีมาตรการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะ
- 2. มีมาตรการให้ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย มีส่วนร่วม
- 3. มีมาตรการส่งเสริมความโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้าง
- 4. มีมาตรการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริต
- 5. มีมาตรการป้องกันการรับสินบน
- 6. มีมาตรการป้องกันการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม
- 7. มีมาตรการตรวจสอบการใช้ดุลยพินิจ
- 8. มีการเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กร
- 9. มีมาตรการในการสร้างจิตสำนึกและความตระหนักแก่บุคลากรทั้งผู้บริหารท้องถิ่น สมาชิกสภาท้องถิ่น และข้าราชการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- หน่วยที่ 4 การสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ
- 189 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้เข้าร่วมการประกวดเพื่อรับรางวัล ด้านธรรมาภิบาล และการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีด้านคุณธรรม จริยธรรม ความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมจากหน่วยงานต่าง ๆ
- 1. มีการสมัครเข้าร่วมการประกวดและมีการประเมินจริง
- 2. มีการสมัคร แต่ไม่ได้รับการประเมินหรือไม่มีการสมัคร
- 3. ได้รับรางวัลระดับอำเภอ/จังหวัด
- 4. ได้รับรางวัลระดับเขต/ภาค
- 5. ได้รับรางวัลระดับประเทศ ระหว่างประเทศ หรือในลักษณะทวิภาคี/พหุภาคี
- 190 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นถูกชี้มูลความผิดจากหน่วยตรวจสอบ
- 1. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไม่มีการถูกชี้มูลความผิด
- 2. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการถูกชี้มูลความผิด